จำนวนผู้เข้าสอบ และผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติพื้นฐาน ( O-NET ) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2552-2554 จัดทำโดย นางสาว ศุภารัตน์ อุ่นอิ่ม เลขที่ 39 นางสาว ศุภษร อินนารี เลขที่ 41 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติพื้นฐาน ( O-NET ) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2552-2554 เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลการทดสอบในแต่ละปีของแต่ละวิชา เพื่อศึกษาเปรียบเทียบหาวิชาที่มีผลการสอบต่ำ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบหาวิชาที่มีผลการสอบดี เพื่อหาข้อบกพร่องของวิชาที่มีผลการสอบต่ำ เพื่อหาแนวทางแก้ไขปรับปรุง ให้ผลการทดสอบของแต่ละวิชาดีขึ้น
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม การงานอาชีพและเทคโนโลยี ผลการผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติพื้นฐาน ( O-NET ) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2552-2554 วิชา ปีการศึกษา 2552 ปีการศึกษา 2553 ปีการศึกษา 2554 คะแนนเฉลี่ย ภาษาไทย 46.47 42.61 41.88 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 36.00 46.51 33.39 ภาษาอังกฤษ 23.98 19.22 21.80 คณิตศาสตร์ 28.56 14.99 22.73 วิทยาศาสตร์ 29.06 30.90 27.90 สุขศึกษาและพลศึกษา 45.37 42.86 54.61 ศิลปะ 37.75 32.26 28.54 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 32.98 43.69 48.72
กราฟแสดงผลการผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติพื้นฐาน ( O-NET ) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2552-2554
วิชาที่มีผลสอบต่ำลง วิชาที่มีผลการสอบทางการศึกษาระดับชาติพื้นฐาน ( O-NET ) ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2552-2554 ลดลง ได้แก่ 1.วิชาภาษาไทย 2.วิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 3.วิชาภาษาอังกฤษ 4.วิชาคณิตศาสตร์ 5.วิชาวิทยาศาสตร์ 6.วิชาศิลปะ
1.ผู้เข้าสอบไม่เตรียมความพร้อมสำหรับการสอบ 2.ผู้เข้าสอบโดดเรียนบ่อย สาเหตุของของคะแนนสอบที่ลดลงทางการศึกษาระดับชาติพื้นฐาน ( O-NET ) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2552-2554 1.ผู้เข้าสอบไม่เตรียมความพร้อมสำหรับการสอบ 2.ผู้เข้าสอบโดดเรียนบ่อย 3.ผู้เข้าสอบพักผ่อนไม่เพียงพอ 4.ผู้เข้าสอบติดเกมส์ 5.ผู้เข้าสอบติดเพื่อน ไม่สนใจการเรียน 6.ผู้เข้าสอบติดสิ่งเสพติด
แนวทางแก้ไข 1.เด็กขี้เกียจ รวมถึงเด็กที่ไม่สนใจเรียน การแก้ไขด้วยการว่ากล่าวตักเตือนอย่างมีเหตุผล 2.สร้างวินัยหน้าที่ให้กับนักเรียน 3.ผู้ปกครองจะต้องอย่าตามใจเกินไป 4.การคบเพื่อน แก้ไขไม่ได้ แต่ป้องกันได้ โดยการชี้แนะ แยกแยะลักษณะคนแบบต่างๆ ให้นักเรียน ฟัง 5.หัวไม่ดี แก้ไขไม่ได้ แต่ไม่ได้เลวร้ายเสมอไป ส่งเสริมไปในด้านที่นักเรียนชอบ ฝึกความ รับผิดชอบ ฝึก EQ ให้ เป็นคนใจเย็น และเป็นคนอารมณ์ดี เรียนพิเศษเพิ่มเติม และมีกิจกรรมให้พักผ่อน อย่างเพียงพอ
http://www.spm6.org เข้าถึงเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2555 แหล่งที่มา http://www.spm6.org เข้าถึงเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2555