แดนดอกลำดวน จังหวัดศรีสะเกษ
โครงการศรีสะเกษ โมเดล (sisaket model) โครงการแก้ไขปัญหาความยากจนแบบบูรณาการ
ผลสัมฤทธิ์ ใช้งบประมาณที่มีประสิทธิผล ลดปัญหาความยากจนของ เกษตรกร
ผลลัพธ์ . มีการเชื่อมโยงการทำงานระดับหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง . มีการเชื่อมโยงการทำงานระดับหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง . การแก้ปัญหาของเกษตรกรตรงจุดและชัดเจน การแก้ปัญหาตรงตามความต้องการของเกษตรกร . สามารถจำแนกปัญหาได้ดี
ผลผลิต มีโมเดลต้นแบบที่ใช้แก้ปัญหาที่ มีระบบข้อมูลที่ชัดเจน . เครือข่ายระดับจังหวัด
กระบวนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ วางแผนกำหนดบุคคลเป้าหมาย/พื้นที่ ประชุมชี้แจงโครงการ ดำเนินงานตามแผนโครงการ ติดตามผลการดำเนินงานโครงการอย่างต่อเนื่อง สรุป และประเมินผลโครงการ
ปัจจัยนำเข้าที่ต้องการทำให้โครงการสำเร็จ ข้อมูลพื้นฐาน เกษตรกรกลุ่มเป้าหมาย รวบรวมข้อมูลพื้นฐาน กลุ่มอาชีพ งบประมาณ 9 ล้านบาท
ปัจจัยเอื้อที่ทำให้โครงการสำเร็จ นโยบายของรัฐบาล ความต้องการของเกษตรกรที่ใช้บริการ
MODEL กลยุทธ์ในการทำโครงการ ( ศรีสะเกษ ) ระดมสมอง วางแผน พัฒนาข้อมูล เชื่อมโยงข้อมูล สรุปผล 3 1 2 4 5 MODEL กลยุทธ์ในการทำโครงการ ( ศรีสะเกษ )
ชาวชุมชนเมืองดอกลำดวน นายมรกต พรหมบุตร นายอัครพล แสงอรุณ นางสาวอุรชา ผลทวี นางสาวสิริมดี พิมพ์ทราย นายมโนศักดิ์ สุวรรณกูฎ นายวีระพงษ์ พละศักดิ์ นายประดิษฐ์ นามวงศ์ นางวันเพ็ญ ธรรมบุตร นายบรรเทิง ทองคำ นายสมาน คัลนา นายนิรันทร์ อุตระวิเศษ นางสาวแสงดาว นันทะ นางสาวรัฐชนก ใจเต็ม นางสวรรค์ ศรีโพนทอง นายนพรัตน์ พานทอง นางสาวจารุณี เพ็ชรินทร์ นายธวิท เพียรหัด นางขรรค์ชัย สุทาบุญ นายพงษ์ศักดิ์ แก้วภักดี นายสมเจตน์ บุญรินทร์ นางเยาวรัตน์ ยวนพันธ์ นายอภิชาติ จิรังดา นายณัฏฐพงษ์ พิกุลทอง นายปฐพี แก้วเกษ นางสาวสิริวัฒนา พรหมเมา นางสาวรำไพ บุรกรณ์
วิทยากร อ.ฉวีวรรณ สุขสมบูรณ์ วิทยากร อ.ฉวีวรรณ สุขสมบูรณ์ ผู้ช่วย นายอดิศร อนันต์โชคศิริ ผู้รายงาน นายณัฏฐพงษ์ พิกุลทอง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร
กลุ่ม แดนดอกลำดวน ขอกราบขอบพระคุณทุกๆท่าน
สวัสดีคร๊าบ.....ๆ......ๆ Bye Bye โชคดีทุกท่าน