บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
Advertisements

“ศกร.กศน.ในต่างประเทศที่มีคุณภาพ ”
การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
หลักเกณฑ์ วิธีการกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของระบบบัณฑิตศึกษา 14 กุมภาพันธ์ 2550.
หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 25..
1 การประเมินคุณภาพ ภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานจัดการเรียนการสอน โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน หน่วยงาน
Page 1. Page 2 ประโยชน์ต่อการกำหนดนโยบาย วางแผน และกำหนดแนวทางหรือการ ปรับปรุงด้านบริหารจัดการ การเรียนการ สอน และดำเนินงานอื่นๆของมหาวิทยาลัย มีแนวทางการขอรับทุน.
การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร กำแพงแสน
แนวทางการรายงานผลการ ดำเนินการ ตั้วบ่งชี้ที่ สกอ
ผศ.ดร. ม.ร.ว. กัลยา ติงศภัทิย์ รองอธิการบดี 30 มกราคม 2555
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งน้ำ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาอังกฤษ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หลักสูตรอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2.2 สรุปผลงานโครงการพัฒนาคุณภาพงาน ประจำปี พ.ศ.2554 (ประเภทโครงการใหม่ที่พัฒนาหน่วยงาน)
Ph.D. (Thai Theatre and Dance) at CHULA
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต/ดุษฎีบัณฑิต โครงสร้างของหลักสูตร
MA (Thai Dance) at CHULA
รายละเอียดข้อมูลทั่วไป
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิการศึกษาระดับอุดมศึกษากับการประกันคุณภาพการศึกษา
LOGO โครงการประชุมสัมมนาถ่ายทอดนโยบาย ของมหาวิทยาลัยสู่ ผู้บริหารระดับหัวหน้า ภาควิชา สาขาวิชา “70 ปี มหาวิทยาลัยศิลปากร : โอกาสและ ศักยภาพการเป็นผู้นำ.
ผลการประเมินคุณภาพภายใน ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การประชุมคณะกรรมการพัฒนาตัวบ่งชี้เพื่อการ
การประชุมผู้ประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2556 ครั้งที่ 1/2556 วันที่ 18 ตุลาคม
ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเกณฑ์ฯ
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การภาครัฐเกี่ยวกับการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียน จัดทำโดย นายพิสณุ ฟองศรี หลักสูตรปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต.
การประเมินผลการเรียน
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบบัณฑิตศึกษา
ตัวอย่าง การประชุม สภาวิชาการมหาวิทยาลัยนครพนม ครั้งที่ ..../…......
มาตรฐานหลักสูตรปริญญาเอก สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ศาสตราจารย์ ดร. ปราณี กุลละ วณิชย์ 29 มีนาคม 2550.
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรใหม่ พ. ศ คณะ / วิทยาลัย
1. ชื่อสถาบัน ให้ระบุชื่อ สถาบันการศึกษา คณะวิชา และภาควิชาที่เปิดสอน หลักสูตร 2. ชื่อหลักสูตร ให้ระบุชื่อ หลักสูตรและสาขาวิชาให้ ชัดเจน แบบรายงานข้อมูลการ.
1 ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร.
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
กลุ่มที่ 2 ผู้ปฏิบัติงานด้านการประกันคุณภาพ
1 การประเมิน คุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน เขตการศึกษา วันที่
การประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานสนับสนุน
1. ผู้บริหารและคณะกรรมการชุด ต่างๆ มีความมุ่งมั่นในการจัดทำ ระบบบริหารคุณภาพอย่างต่อเนื่อง และมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ใน ระบบบริหารคุณภาพอย่างสม่ำเสมอ.
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
งานธุรการ กองการบริหารงานบุคคล
กระบวนการประกันคุณภาพ ภาควิชาการพยาบาลพื้นฐาน
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คำนิยามและขั้นตอนการเสนอหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา
KM-QA งานประกันคุณภาพการศึกษา ขอนำเสนอ สาระสำคัญของ
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
การขอตำแหน่งทางวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร. ปานสิริ พันธุ์สุวรรณ
บทบาทหน้าที่ และคุณลักษณะ ของผู้ติดตามตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพที่นักศึกษาควรรู้
การบริหารวิชาการและการเรียนการสอน
งานกิจการนิสิต
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
ยินดีต้อนรับ อาจารย์และ นักศึกษาผู้สนใจ. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม ชั้น 4 อาคารเฉลิมพระ เกียรติ 72 พรรษา โทร
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การประเมินพฤติกรรมการ เรียนของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ( ปวส.2 ) สาขาการตลาด ปี การศึกษา 2555 ผู้วิจัย นายฉัตรชัย ภักดีนอก ตำแหน่ง อาจารย์ประจำฝ่ายวิชาการ.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
แนวปฏิบัติและวิธีการ ขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการของคณาจารย์
แนวปฏิบัติที่ดีของ การประกันคุณภาพ การศึกษา. ที่องค์ประกอบ ผลการประเมิน ปี 52 ปี 53 ปี 54 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผน ดำเนินการ
สรุปสาระสำคัญของหลักเกณฑ์และ วิธีการประเมินเพื่อเปลี่ยนสถานภาพ เป็นพนักงานมหาวิทยาลัย (ตามประกาศมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินเพื่อ.
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
ชื่อเรื่อง ความคิดเห็นที่มีต่อการเรียนการ สอน สาขาวิชาการจัดการทั่วไป ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางเยาวลักษณ์ อา ลักษณสุวรรณ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แนวปฏิบัติในการจัดทำหลักสูตร ปริญญาดุษฎีบัณฑิตและหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิตแบบต่อเนื่อง บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

1. เกณฑ์ในการพิจารณาหลักสูตรที่สามารถใช้ระบบบริหารหลักสูตร 1. เกณฑ์ในการพิจารณาหลักสูตรที่สามารถใช้ระบบบริหารหลักสูตร แบบต่อเนื่องได้ ต้องประกอบด้วย 3 ข้อ ดังนี้ 1.1 สาขาวิชาของหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิตและหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต ต้องเป็นสาขาวิชาเดียวกัน และมีรายวิชาเกือบเป็นชุดเดียวกัน 1.2 คณะกรรมการบริหารหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิตและหลักสูตรปริญญา มหาบัณฑิตชุดเดียวกัน คณะกรรมการบริหารหลักสูตร ต้องมีจำนวนไม่น้อยกว่า 5 คน ประกอบด้วย 1. หัวหน้าภาควิชา เป็นประธาน 2. อาจารย์ประจำหลักสูตร อาจารย์ประจำ และ/หรือผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก มหาวิทยาลัย เป็นกรรมการ 3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 1 คน เป็นกรรมการและเลขานุการ

1.3 มีผลงานหรือแสดงศักยภาพที่จะผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพและบริหารหลักสูตร อย่างมีประสิทธิภาพตามมาตรฐาน CU-CQA การประเมินตามระบบ CU-CQA มีดังนี้ :- 1. ประเมินตนเองตามCU-CQA Checklist 2. สรุปผลการประเมินตนเอง 3. จัดทำแบบประเมินหลักสูตร 4. ดัชนีชี้วัดคุณภาพหลักสูตร

2. การจัดทำเอกสารหลักสูตร 2. การจัดทำเอกสารหลักสูตร หลักสูตรจะต้องระบุโครงสร้างหลักสูตร ดังนี้ - ระดับปริญญาโท เฉพาะแผน ก ทั้งแบบ ก1 และแบบก2 - ระดับปริญญาเอก ทั้งแบบ 1 และแบบ 2 ลักษณะการจัดทำเอกสารหลักสูตร มี 3 รูปแบบ ดังนี้ :- 1. กรณีไม่มีการปรับปรุงหลักสูตร ให้จัดทำเอกสารที่ผ่านความเห็นชอบจาก คณะกรรมการประจำคณะให้บัณฑิตวิทยาลัย ดังนี้ :- 1) บันทึกขอใช้ระบบบริหารหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิตและหลักสูตรปริญญา มหาบัณฑิตแบบต่อเนื่อง 2) โครงสร้างหลักสูตรและรายวิชาของหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิตและ หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต 3) ประเมินหลักสูตรตามระบบประกันคุณภาพหลักสูตร จุฬาฯ (CU-CQA)

2. กรณีปรับปรุงหลักสูตร ให้ดำเนินการปรับปรุงหลักสูตร ตามขั้นตอนการเสนอ 2. กรณีปรับปรุงหลักสูตร ให้ดำเนินการปรับปรุงหลักสูตร ตามขั้นตอนการเสนอ ขอปรับปรุงหลักสูตรที่สำนักบริหารวิชาการกำหนดไว้ และจัดส่งเอกสารหลักสูตร ให้สำนักบริหารวิชาการ (สำหรับหลักสูตรที่จะเปิดสอนในปีการศึกษา 2552 จะต้อง ดำเนินการให้แล้วเสร็จ ภายในเดือนตุลาคม 2551) ดังนี้ :- 1) จัดทำแบบเสนอหลักสูตรปรับปรุงเป็น 2 เล่ม โดยแยกเป็นหลักสูตรปริญญา ดุษฎีบัณฑิตและหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต 2) วิเคราะห์หลักสูตรโดยผู้ทรงคุณวุฒิตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด 3) ประเมินหลักสูตรตามระบบประกันคุณภาพหลักสูตรของจุฬาฯ (CU-CQA) 4) เอกสารสรุปสาระสำคัญของหลักสูตร เมื่อหลักสูตรได้รับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยแล้ว ให้ดำเนินการตามข้อ 1 3. กรณีที่มีหลักสูตรปริญญาเอกหรือปริญญาโทเพียงหลักสูตรเดียว จะต้องดำเนินการ ขอบรรจุหลักสูตรใหม่เพิ่มในแผนพัฒนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและขอเปิด หลักสูตรใหม่ระดับปริญญาเอกหรือปริญญาโทสาขาวิชาเดียวกัน ซึ่งมีขั้นตอนการ ดำเนินการเช่นเดียวกับข้อ 2

3. การวิเคราะห์หลักสูตร สำหรับหลักสูตรใหม่/หลักสูตรปรับปรุง 3. การวิเคราะห์หลักสูตร สำหรับหลักสูตรใหม่/หลักสูตรปรับปรุง 1) เกณฑ์การพิจารณาผู้ทรงคุณวุฒิสำหรับวิเคราะห์หลักสูตรให้คณะเสนอผู้ทรงคุณวุฒิ 2 คน โดย 1 ใน 2 นั้นต้องเป็นผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย 2) ประเด็นการวิเคราะห์หลักสูตร มีดังนี้ 1. เหตุผลและความจำเป็นในการเปิดหลักสูตร/ปรับปรุงหลักสูตร 2. หลักสูตรต้องการผลิตบัณฑิตที่มีคุณสมบัติเด่นอย่างไร 3. โครงสร้างหลักสูตรและรายวิชามีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตร หรือไม่ อย่างไร 4. การกำหนดคุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัครเข้าศึกษาในหลักสูตรเหมาะสมหรือไม่ อย่างไร 5. ความพร้อมในด้านต่างๆ สำหรับการเปิดหลักสูตรใหม่/ปรับปรุงหลักสูตร 6. ข้อเปรียบเทียบหลักสูตรนี้กับหลักสูตรสาขาวิชาเดียวกันที่เปิดสอน 7. ประเด็นอื่นๆ ที่ผู้ทรงคุณวุฒิจะให้ข้อเสนอแนะ