งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)

2 การประเมินผลตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) 14.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ 12 14.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ในการดำเนินการของส่วนราชการ ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวด 7) 4 14.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 รวม 20

3 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การดำเนินการจัดทำแผนการพัฒนาองค์การ จำนวน 2 แผน ซึ่งแต่ละแผนแบ่งการประเมินผลเป็น 2 ตัวชี้วัดย่อย ดังนี้ 14.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ (น้ำหนักร้อยละ 12) ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) แผนที่ 1 แผนที่ 2 รวม 14.1.1 ร้อยละของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 4 8 14.1.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ในการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ 2 6 12

4 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) แผนที่ 1 แผนที่ 2 รวม 14.1.1 ร้อยละของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 4 8 14.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ (น้ำหนักร้อยละ 12) วัดความสำเร็จของการดำเนินงาน โดยตรวจประเมินทุกข้อ ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวดภาคบังคับและหมวดภาคสมัครใจ) การประเมินผล เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ร้อยละของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 60 70 80 90 100 ค่าคะแนนของแต่ละแผนพิจารณาจากจำนวนข้อที่ผ่านเกณฑ์เทียบกับจำนวนข้อทั้งหมดในแต่ละหมวด แล้วนำผลที่ได้ไปเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนน อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 3.1 และ 3.2

5 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) แผนที่ 1 แผนที่ 2 รวม 14.1.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ในการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ 2 4 14.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ (น้ำหนักร้อยละ 12) ค่าคะแนนของแต่ละแผนฯ พิจารณาวัดความสำเร็จ โดยนำผลการดำเนินงานของแต่ละตัวชี้วัดในแผนพัฒนาองค์กรแต่ละแผนไปเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนนจะได้ค่าคะแนนของแต่ละตัวชี้วัด และนำค่าคะแนนของทุกตัวชี้วัดในแผนฯมาเฉลี่ย อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 4

6 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การประเมินผล เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 14.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์การดำเนินการของส่วนราชการ ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวด 7) 14.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ในการดำเนินการของส่วนราชการ ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวด 7) (น้ำหนักร้อยละ 4) วัดความสำเร็จของการดำเนินงาน โดยนำผลการดำเนินงานของแต่ละตัวชี้วัดในหมวด 7 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานไปเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนน จะได้ค่าคะแนนของแต่ละตัวชี้วัด และนำค่าคะแนนที่ได้ของทุกตัวชี้วัดในหมวด 7 มาเฉลี่ย จะได้ค่าคะแนนของตัวชี้วัดที่ 14.2 อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 3.3

7 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 14.3 แบ่งการประเมินผลเป็น 3 หัวข้อย่อย ดังนี้ 14.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (น้ำหนักร้อยละ 4) การประเมินผล น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานลักษณะสำคัญขององค์กร (15 คำถาม) 6 9 12 15 ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเองหมวด 1-7 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 7 ความครบถ้วนของแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553* (2 แผน) -

8 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การประเมินผล น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานลักษณะสำคัญขององค์กร (15 คำถาม) 6 9 12 15 14.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (น้ำหนักร้อยละ 4) พิจารณาความครบถ้วนสมบูรณ์ในการตอบคำถามจำนวน 15 คำถาม อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 5

9 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การประเมินผล น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเองหมวด 1-7 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 6 7 14.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (น้ำหนักร้อยละ 4) พิจารณาความครบถ้วนสมบูรณ์ของการ การจัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเองหมวด 1-7 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 6 การพิจารณาความครบถ้วนในการประเมินองค์กรด้วยตนเองให้นำแบบฟอร์มที่ 3.1,3.2 และ 3.3 มานับรวมด้วย ดังนั้น จึงหมายความว่าส่วนราชการจะประเมินองค์กรในส่วนของตัวชี้วัดที่ 14.3 นี้ด้วยแบบฟอร์มที่ 6 เพิ่มเติมอีก 4 หมวด (นอกเหนือจากแบบฟอร์มที่ 3) แต่นับความครบถ้วนสมบูรณที่ระดับ 5 เท่ากับ 7 หมวด

10 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การประเมินผล น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ความครบถ้วนของแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ (2 แผน) - 14.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (น้ำหนักร้อยละ 4) พิจารณาความครบถ้วนสมบูรณ์ของแผนพัฒนาองค์การแต่ละแผน อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 7

11 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด แบบฟอร์มที่ 8 แบบฟอร์มรายงานผลระดับคะแนนระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 14.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ (น้ำหนักร้อยละ 12) 14.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ในการดำเนินการของส่วนราชการ ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวด 7) (น้ำหนักร้อยละ 4) 14.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (น้ำหนักร้อยละ 4)

12 ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 1. การวิเคราะห์และจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 2. การจัดทำตัวชี้วัดความสำเร็จของกระบวนการและผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ 3. ดำเนินการปรับปรุงองค์กรตามแผนพัฒนาองค์การของปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 4. การประเมินองค์กรตามเกณฑ์ระดับพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ เพื่อการจัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 5. การรายงานผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด 6. การตรวจประเมินจากผู้ตรวจประเมินภายนอก

13 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ระบุประเภทของส่วนราชการว่ามีภารกิจหลักที่ควรกำหนดให้เป็นกรมด้านนโยบาย หรือ กรมด้านบริการ ตามขอบเขตและลักษณะของหน่วยงาน วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 1. การวิเคราะห์และจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 กรมนโยบาย ภารกิจหลักของส่วนราชการ เป็นการเสนอแนะในการจัดทำนโยบาย แผน และมาตรการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้ง การกำหนดกฎ ระเบียบ การประสานติดตามประเมินผลให้เป็นไปตามนโยบายที่กำหนด กรมบริการ ภารกิจหลักของส่วนราชการที่รับผิดชอบการให้บริการสาธารณะ การอนุมัติ อนุญาต ควบคุม กำกับ ให้เป็นไปตามกฎหมาย ทั้งนี้ ให้หมายความรวมถึงงานบริการทางวิชาการด้วย กำหนดประเภทของกรมตามลักษณะภารกิจหลักได้ตามความเหมาะสม หรือใช้ประเภทของกรมตามหนังสือสำนักงาน ก.พ.ร. ที่ นร 1200/ว 26 ลงวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ ก็ได้

14 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 2. ส่วนราชการจัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ เป็นรายหมวด จำนวน 2 แผน ส่วนราชการอาจกำหนด Roadmap แผนพัฒนาองค์การ ดังนี้ วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 1. การวิเคราะห์และจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ประเภทกรม แผนภาคบังคับ แผนภาคสมัครใจ* กรมนโยบาย หมวด 2 หมวด 1 หรือ 4 กรมบริการ หมวด 3 หมวด 1 หรือ 6 * ข้อแนะนำ 2552 2553 2554 กรมด้าน บริการ นโยบาย 3 6 1 5 2 4

15 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 กรอบในการจัดทำแผนภาคบังคับ และแผนภาคสมัครใจ สำนักงาน ก.พ.ร. จะแต่งตั้งคณะทำงานซึ่งประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิที่เชี่ยวชาญในด้านการพัฒนาองค์การ เพื่อทำหน้าที่กลั่นกรองแผนพัฒนาองค์การที่ส่วนราชการส่งเข้ามา และจะแจ้งผลให้ทราบภายในกลางเดือนกุมภาพันธ์ 2552 แบบฟอร์มที่ใช้ในการจัดทำแผนพัฒนาองค์การ กำหนดการส่ง (ต้องได้รับความเห็นชอบจากหัวหน้าส่วนราชการ) วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด แผนปรับปรุงที่ได้จัดทำไว้จำนวน 2 แผนในปีงบประมาณ 2551 1. การวิเคราะห์และจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน แบบฟอร์มที่ 1 แบบฟอร์มแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ภายใน 30 มกราคม พ.ศ. 2552 หากจัดส่งไม่ทันในระยะเวลาที่กำหนดจะปรับลดคะแนนจากผลคะแนนรวมของตัวชี้วัดนี้ คะแนน

16 ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
แบบฟอร์มที่ 1 แบบฟอร์มแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 1. การวิเคราะห์และจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552

17 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 จัดทำตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 กำหนดรายละเอียดตัวชี้วัดเพื่อการประเมินผล แบบฟอร์มที่ใช้ในการจัดทำ ตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ กำหนดการส่ง (ต้องได้รับความเห็นชอบจากหัวหน้าส่วนราชการ) วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 2. การจัดทำตัวชี้วัดความสำเร็จของกระบวนการและผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ กำหนดน้ำหนักเท่ากันทุกตัวชี้วัด นำค่าเป้าหมายไว้ที่ค่าคะแนนระดับ 5 กำหนดเกณฑ์การให้คะแนนแต่ละตัวชี้วัดตามความเหมาะสม แบบฟอร์มที่ 2 แบบฟอร์มแสดงตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ภายใน 30 มกราคม พ.ศ. 2552 หากจัดส่งไม่ทันในระยะเวลาที่กำหนดจะปรับลดคะแนนจากผลคะแนนรวมของตัวชี้วัดนี้ คะแนน

18 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 แบบฟอร์มที่ 2 แบบฟอร์มแสดงตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 2. การจัดทำตัวชี้วัดความสำเร็จของกระบวนการและผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ

19 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ส่วนราชการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การที่กำหนด เพื่อให้แผนดังกล่าวบรรลุเป้าหมายที่กำหนดทั้งในแง่ความครบถ้วนของกระบวนการและความสำเร็จของผลลัพธ์ สำนักงาน ก.พ.ร. มีระบบสนับสนุน ดังนี้ วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 3. ดำเนินการปรับปรุงองค์กรตามแผนพัฒนาองค์การของปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 คู่มือเทคนิคการปรับปรุงและพัฒนาองค์การ เวอร์ชั่น 1.0 ชุดเครื่องมือการพัฒนาองค์การ หมวด 1-7 การให้คำปรึกษาในการพัฒนาองค์การโดยที่ปรึกษาในการพัฒนาองค์การที่เชี่ยวชาญในแต่ละหมวด คลีนิคให้คำปรึกษาทุกบ่ายวันศุกร์ ที่ สำนักงาน ก.พ.ร. โดยทีมเจ้าหน้าที่สำนักงาน ก.พ.ร. ที่รับผิดชอบโครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA e-Learning เว็บไซต์

20 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ขั้นตอนนี้จะดำเนินการประมาณเดือน กันยายน ถึง ตุลาคม 2552 ดังนี้ วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 1. การจัดทำรายงานลักษณะสำคัญขององค์กร 4. การประเมินองค์กรตามเกณฑ์ระดับพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ เพื่อการจัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 2.การจัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเองหมวด 1-7 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 3. การจัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553

21 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 การจัดทำรายงานลักษณะสำคัญขององค์กร วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด ทบทวนลักษณะสำคัญขององค์กร (นำลักษณะสำคัญขององค์กรที่ได้จัดทำตามตัวชี้วัดฯ ในปีงบประมาณ พ.ศ มาทบทวนให้สอดคล้องกับสภาพที่เปลี่ยนแปลงไป) 4. การประเมินองค์กรตามเกณฑ์ระดับพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ เพื่อการจัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 คำถามที่มีเครื่องหมาย (#) เป็นคำถามบังคับที่ส่วนราชการต้องตอบคำถาม โดยมีข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องในเรื่องนั้น ๆ จึงจะถือว่าได้ตอบคำถามในข้อนั้น ๆ แล้ว คำถามที่ ไม่มี เครื่องหมาย (#) เป็นคำถามที่ส่วนราชการต้องตอบคำถาม แต่การตอบคำถามดังกล่าวอาจจะยังไม่มีความสมบูรณ์ก็ได้ ส่วนราชการอธิบายบริบทที่สำคัญขององค์การที่เกี่ยวข้องในแต่ละคำถาม โดยใช้วิธีการพรรณาความ ใช้แผนภาพประกอบ หรือใช้ตาราง ตามความเหมาะสมในแต่ละคำถาม โดยมีจำนวนหน้าไม่เกิน 15 หน้ากระดาษ A4 แบบฟอร์มที่ 5 : แบบฟอร์มรายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร

22 ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
แบบฟอร์มที่ 5 : แบบฟอร์มรายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 4. การประเมินองค์กรตามเกณฑ์ระดับพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ เพื่อการจัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553

23 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 การจัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเองหมวด 1-7 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 4. การประเมินองค์กรตามเกณฑ์ระดับพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ เพื่อการจัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 แบบฟอร์มที่ 6 :แบบฟอร์มรายงานผลการประเมินองค์กรด้วยตนเองตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน

24 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 แบบฟอร์มที่ 6 :แบบฟอร์มรายงานผลการประเมินองค์กรด้วยตนเองตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 4. การประเมินองค์กรตามเกณฑ์ระดับพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ เพื่อการจัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553

25 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 3. การจัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด แนวทางเช่นเดียวกับการจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 4. การประเมินองค์กรตามเกณฑ์ระดับพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ เพื่อการจัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 กรมด้านนโยบาย ให้ดำเนินการหมวดบังคับ คือ หมวด 4 (หากส่วนราชการเลือกดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ แล้ว ให้ดำเนินการในหมวด 1 แทน) กรมด้านบริการ ให้ดำเนินการหมวดบังคับ คือ หมวด 6 (หากส่วนราชการเลือกดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ แล้ว ให้ดำเนินการในหมวด 1 แทน) กรณีส่วนราชการที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน ในปี งบประมาณ พ.ศ จะต้องจัดทำแผนฯเพิ่มเติมมาด้วย แบบฟอร์มที่ 7.1 : แบบฟอร์มแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 แบบฟอร์มที่ 7.2 : แบบฟอร์มแสดงตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553

26 ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
แบบฟอร์มที่ 7.1 : แบบฟอร์มแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด แผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553 4. การประเมินองค์กรตามเกณฑ์ระดับพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ เพื่อการจัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553

27 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 แบบฟอร์มที่ 7.2 : แบบฟอร์มแสดงตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 4. การประเมินองค์กรตามเกณฑ์ระดับพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ เพื่อการจัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553

28 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 รายงานผลการดำเนินการตามตัวชี้วัดในรายงานรอบ 6 เดือน และ รอบ 12 เดือน ของแต่ละแผน ประกอบด้วย 2 หัวข้อ วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 5. การรายงานผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด 1. รายงานผลการดำเนินการเมื่อเทียบกับเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 2. รายงานผลลัพธ์การดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ หมายเหตุ : การรายงานรอบ 6 เดือนเป็นการรายงานปกติตามแบบฟอร์มคำรับรองการปฏิบัติราชการ ไม่ต้องใช้แบบฟอร์มที่ 3 และ 4 โดยเป็นการรายงานผลการดำเนินงานในภาพรวมของตัวชี้วัดนี้เท่านั้น ส่วนการรายงานรอบ 12 เดือน ส่วนราชการจึงใช้แบบฟอร์มที่ 3 และ 4

29 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 1. รายงานผลการดำเนินการเมื่อเทียบกับเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด แบบฟอร์มที่ 3 แบบฟอร์มรายงานผลการดำเนินการเมื่อเทียบกับเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 5. การรายงานผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด หมวดภาคบังคับ หมวดภาคสมัครใจ หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ

30 ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
แบบฟอร์มที่ 3.1 แบบฟอร์มรายงานผลการดำเนินการในหมวดบังคับ วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 5. การรายงานผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด

31 ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด แบบฟอร์มที่ 3.2 แบบฟอร์มรายงานผลการดำเนินการในหมวดสมัครใจ 5. การรายงานผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด

32 ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
แบบฟอร์มที่ 3.3 แบบฟอร์มรายงานผลการดำเนินการหมวด ผลลัพธ์การดำเนินการ วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 5. การรายงานผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด

33 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 รายงานผลลัพธ์การดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ ดังนี้ วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด ผลการดำเนินงานตัวชี้วัด 5. การรายงานผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด ค่าคะแนนของตัวชี้วัด ค่าคะแนนของแต่ละแผนฯ แบบฟอร์มที่ 4 แบบฟอร์มรายงานผลลัพธ์การดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ

34 ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
แบบฟอร์มที่ 4 แบบฟอร์มรายงานผลลัพธ์การดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 5. การรายงานผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด

35 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 6. การตรวจประเมินจากผู้ตรวจประเมินภายนอก การตรวจประเมินตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ รอบ 12 เดือน จะเป็นการตรวจสอบการประเมินความสำเร็จที่ส่วนราชการได้ประเมินตนเองมาว่าตรงตามคะแนนที่ประเมินหรือไม่


ดาวน์โหลด ppt การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google