ค่าคะแนนเฉลี่ย Weighted mean Score

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
KM Learning Power ครั้งที่ 3
Advertisements

สศ การเมืองและการปกครองของไทย POL
พัฒนาคุณภาพงานและจดทะเบียนตั้งกลุ่ม รุ่นที่ 1 – 6 (ปีที่ 2)
50 % 50 % KPI 11 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ
ผู้จัดทำ 1.นายกิตติพงศ์ ทีภูเวียง เลขที่ 1
จำนวนนักเรียนที่เข้าสอบ ผลการทดสอบและคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา จัดทำโดย.
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
สื่อที่สร้างด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
สรุปผลการสำรวจความพึงพอใจ ของผู้ประกอบการ (บัณฑิตระดับปริญญาตรี) ปีการศึกษา กันยายน 2548.
การวิเคราะห์ ประมวลผล และนำเสนอข้อมูล
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
การสร้างผู้ชำนาญการด้าน IT Auditor ประจำปี 2554
ร้อยละความสำเร็จของการนำองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์การไปสู่การปฏิบัติ
การวิจัยและพัฒนาผู้เรียนด้วย E-Learning
ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อคุณภาพการสอนของครู แผนกสามัญ หมวดพลานามัย ปีการศึกษา 2550 วิธีการวิจัยวัตถุประสงค์ ผลการศึกษา พบว่า โดยรวมนักเรียนมี ความพึงพอใจต่อคุณภาพ.
โครงการสำรวจความ คิดเห็นเรื่องระบบบริหาร บุคลากร 20 มีนาคม 2551.
แนวทางการประเมินผลงาน ทางวิชาการ
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
ตามยุทธศาสตร์การพัฒนายกระดับผลสัมฤทธิ์
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
จำนวนห้องสมุดประชาชนมีการ พัฒนาการให้บริการด้วยระบบ ICT เสร็จตามแผนที่กำหนด และเป็นที่ พึงพอใจของผู้ใช้บริการ.
ณัฐชนัญ เสริมศรี ผู้วิจัย สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
กำหนดให้ คะแนนเฉลี่ยของจังหวัดสูง อยู่ใน 15 อันดับแรก คะแนนเฉลี่ยของจังหวัดปานกลาง อยู่ใน อันดับที่ 16 – 61 คะแนนเฉลี่ยของจังหวัดต่ำ อยู่ใน 15 อันดับท้าย.
คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้วิจัย อภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
นาย ภัทราวุธ พิชาชญชัย วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิ เทคนิคลานนา เชียงใหม่
สรุปการประเมินความคิดเห็นการจัดงาน มหกรรมคุณภาพ วันที่ มกราคม 2555
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
ความเป็นมา ในปัจจุบันเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทมากในชีวิตประจำวันแทบทุกด้าน รวมถึงด้านของการศึกษาด้วย ผู้เรียนส่วนใหญ่สามารถใช้คอมพิวเตอร์ได้ ผู้วิจัยจึงเห็นแนวทางที่จะพัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้มีความสอดคล้องกับเทคโนโลยีในปัจจุบัน.
ผู้วิจัย นางประชุมพร รุ่นประพันธ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นายณัฐกร กันทะศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจของครูผู้สอน ต่อการบริหารสถานศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางกุสุมา หาญกล้า.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนาความพร้อมในวิชาชีพ
ผู้วิจัย อาจารย์พรรณี เสือรักษ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
จัดทำโดย จรัสศรี ดอนชัย วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
ผู้วิจัย อาจารย์เกษร วุฒิสินธ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
รายละเอียด ระดับความพึงพอใจ มาก ที่สุด (5) มาก (4) ปาน กลาง (3) น้อย (2) น้อย ที่สุด (1) ค่าเฉลี่ ย 1. ผู้เรียนชอบทำงานร่วมกับเพื่อ เมื่อเรียนวิชาระบบเครือข่าย.
สัมมนาบุคลากรสายปฏิบัติการ ประจำปี 2554 วันที่ กันยายน 2554 เวลา – น. ณ สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์ ต. บ้านหลวง อ. จอมทอง จ. เชียงใหม่
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
กรอบเนื้อหาการพัฒนา เนื้อหาหลักสูตรชั่วโมง 1. ส่วนที่ 1 การพัฒนาสมรรถนะ 180 ระยะที่ 1  คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ระยะที่ 1  คุณลักษณะที่พึงประสงค์  ภาวะผู้นำทางวิชาการ.
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อคุณภาพการสอนของครู แผนกสามัญ หมวดภาษาอังกฤษ ปีการศึกษา 2550 วิธีการวิจัยวัตถุประสงค์ ผลการศึกษา พบว่า โดยรวมนักเรียนมี ความพึงพอใจต่อคุณภาพ.
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สอนโดย ครูปพิชญา คนยืน.
ชื่อผู้วิจัย ประชิด เกิดมาก
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนที่ 7
กลับขึ้นด้านบน กลับขึ้นด้านบน
นางสาววัชรา เชื้อรามัญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ปัญหา 1 นักศึกษามีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ อยู่ในเกณฑ์ต่ำมาก ปัญหา 2 นักศึกษาไม่สามารถนำทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ไปใช้ใน การปัญหาต่างๆใน ชีวิตประจำวันได้
“ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบริหารโครงการ โดยใช้กระบวนการกลุ่มในการจัดการเรียนการสอน” ผลงานวิจัยเรื่อง โดย นางสุภาวดี แก้วเก้า.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชามนุษยสัมพันธ์โดยใช้เทคนิคการทำงานเป็นทีม ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ผู้วิจัย นางบุษกร.
อริส ขวัญเสียงเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ค่าคะแนนเฉลี่ย Weighted mean Score

คือ สถิติที่ใช้บอกระดับของค่าคะแนน ค่าความเห็น ค่าความพึงพอใจ ต่อเรื่องต่างๆ

บอกให้รู้ว่าความเห็นของคนทั้งหมด ต่อเรื่องนั้น ๆ โดยสรุปเป็นอย่างไร หรืออยู่ในระดับไหน

เช่น ความพึงพอใจของเกษตรกร จำนวน 30 คน - ต่อเนื้อหาวิชาการ - ต่อเอกสารประกอบการฝึกอบรม - ต่อวิธีการนำเสนอของวิทยากร - และความพึงพอใจต่อการฝึกอบรมโดยรวมเป็นอย่างไร

ความจริงวันนี้ ความเห็นแต่ละประเด็นมาจากความเห็นที่หลากหลาย ดังในตัวอย่าง

ประเด็นความพึงพอใจ ต่อการฝึกอบรม ระดับความพึงพอใจ (ราย) ตัวอย่าง การสำรวจความพึงพอใจจากเกษตรกร 30 คน ใช้มาตรวัดแบบลิเคิร์ท (Likert scale) ประเด็นความพึงพอใจ ต่อการฝึกอบรม ระดับความพึงพอใจ (ราย) น้อยที่สุด 1 น้อย 2 ปานกลาง 3 มาก 4 มากที่สุด 5 เนื้อหาวิชาการ 1 2 5 20 เอกสารประกอบการฝึกอบรม 15 10 วิธีการนำเสนอของวิทยากร 8 รวมความพึงพอใจต่อการฝึกอบรมโดยรวม 4 28 45

ในที่นี้ ให้มี 5 ระดับ คือ น้อยที่สุด น้อย ปานกลาง มาก มากที่สุด 1. วิธีการกำหนดระดับของความเห็น ในที่นี้ ให้มี 5 ระดับ คือ น้อยที่สุด น้อย ปานกลาง มาก มากที่สุด ให้ค่าตัวเลข 5 ระดับเท่ากับ 1 2 3 4 5

2. หาช่วงคะแนนของแต่ละระดับ โดย 2. หาช่วงคะแนนของแต่ละระดับ โดย 2.1 ใช้ค่าสูงสุด - ค่าต่ำสุด หาญด้วยจำนวนระดับ 2.2 เท่ากับ 5 - 1 = 4 =0.8 5 5

1 - 1.80 >1.8 - 2.6 >2.6 - 3.4 >3.4 - 4.2 >4.2 - 5.0 2.3 ใช้ค่าต่ำสุดบวกช่วงคะแนน (0.8) เพื่อหาค่าต่ำสุดและค่าสูงสุดของแต่ละระดับ ช่วงคะแนนที่ 1 = 1 + 0.8 1 - 1.80 >1.8 - 2.6 ช่วงคะแนนที่ 2 > 1.8 + 0.8 >2.6 - 3.4 ช่วงคะแนนที่ 3 > 2.6 + 0.8 >3.4 - 4.2 ช่วงคะแนนที่ 4 > 3.4 + 0.8 >4.2 - 5.0 ช่วงคะแนนที่ 5 > 4.2 + 0.8

2.4 สรุปค่าคะแนนแต่ละระดับ พึงพอใจน้อยที่สุด ระหว่าง 1 - 1.8 พึงพอใจน้อย ระหว่าง > 1.8 - 2.6 พึงพอใจปานกลาง ระหว่าง > 2.6 - 3.4 พึงพอใจมาก ระหว่าง > 3.4 - 4.2 พึงพอใจมากที่สุด ระหว่าง > 4.2 - 5.0

3. นำความเห็นจากแบบสอบถามมาแจงนับและบันทึก จำนวนลงในแต่ละระดับความเห็น 3. นำความเห็นจากแบบสอบถามมาแจงนับและบันทึก จำนวนลงในแต่ละระดับความเห็น 4. หาค่าคะแนนเฉลี่ยของความพึงพอใจแต่ละประเด็นโดย จำนวนความเห็นระดับ 1 x 1 + จำนวนความเห็นระดับ 2 x 2 +…….. + จำนวนความเห็นระดับ 5 x 5 หาญด้วยจำนวนผู้ออกความเห็นทั้งหมด

5. ค่าคะแนนของความพึงพอใจต่อเนื้อหาวิชาการ 5. ค่าคะแนนของความพึงพอใจต่อเนื้อหาวิชาการ = 1 x 1 + 2 x 2 + 5 x 3 + 20 x 4 + 2 x 5 = 110 = 3.67 30 30

6. เช่นเดียวกับค่าคะแนนของความพึงพอใจในประเด็น 6. เช่นเดียวกับค่าคะแนนของความพึงพอใจในประเด็น 6.1 ความพึงพอใจต่อเอกสารประกอบการฝึกอบรม = 2 x 1 + 2 x 2 + 15 x 3 + 10 x 4 + 1 x 5 = 96 = 3.20 30 30 6.2 ความพึงพอใจต่อวิธีการนำเสนอของวิทยากร = 1 x 1 + 1 x 2 + 8 x 3 + 15 x 4 + 5 x 5 = 112 = 3.73 30 30 6.3 ความพึงพอใจต่อการฝึกอบรมโดยรวม = 4 x 1 + 5 x 2 + 28 x 3 + 45 x 4 + 8 x 5 = 3.53 90

7. แปลความหรือตีความจากค่าคะแนนเฉลี่ย 7.1 ระดับความพึงพอใจต่อเนื้อหาวิชาการ = 3.67 = พึงพอใจมาก ( > 3.4 – 4.2 ) 7.2 ระดับความพึงพอใจต่อเอกสารประกอบการฝึกอบรม = 3.20 = พึงพอใจปานกลาง ( > 2.6 – 3.4 ) 7.3 ระดับความพึงพอใจต่อวิธีการนำเสนอของวิทยากร = 3.73 = พึงพอใจมาก ( > 3.4 - 4.2 ) 7.4 ระดับความพึงพอใจต่อการฝึกอบรมโดยรวม =3.53 = พึงพอใจมาก ( >3.4 – 4.2)

ประเด็นความพึงพอใจต่อการฝึกอบรม ระดับความพึงพอใจ (ราย) 8. นำเสนอตาราง ประเด็นความพึงพอใจต่อการฝึกอบรม ระดับความพึงพอใจ (ราย) ค่าคะแนนเฉลี่ย ระดับความพึงพอใจ น้อยที่สุด น้อย ปานกลาง มาก มากที่สุด 1. เนื้อหาวิชาการ 1 2 5 20 3.67 2. เอกสารประกอบการ ฝึกอบรม 15 10 3.20 3. วิธีการนำเสนอของ วิทยากร 8 3.73 ความพึงพอใจต่อการฝึกอบรมโดยรวม 4 28 45 3.53