งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ สอนโดย ครูปพิชญา คนยืน

2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สถิติ

3 การนำเสนอข้อมูลในรูปตารางแจกแจงความถี่

4 ตารางแจกแจงความถี่เป็นวิธีการทางสถิติในการจัดแบบข้อมูลเป็นกลุ่มๆ เป็นหมวดวิชาหรือชั้นปี เพื่อให้เป็นระเบียบ

5 อ่านและแปลความหมายได้ง่าย ชัดเจน และสะดวกในการนำไปวิเคราะห์ และสรุปผล
อ่านและแปลความหมายได้ง่าย ชัดเจน และสะดวกในการนำไปวิเคราะห์ และสรุปผล

6 ความถี่ หมายถึง จำนวนครั้งของข้อมูลที่เกิดขึ้นหรือปรากฏขึ้น เช่น ข้อมูลส่วนสูงของนักศึกษา

7 ที่มีส่วนสูง 159 เซนติเมตร มีอยู่ 8 คนจึงเรียกได้ว่านักศึกษาที่มีส่วนสูง เซนติเมตร มีความถี่เท่ากับ 8

8 การสร้างตารางแจกแจงความถี่ มี 2 วิธี ดังนี้
การสร้างตารางแจกแจงความถี่ มี 2 วิธี ดังนี้ วิธีที่1. แจกแจงความถี่ของข้อมูลเฉพาะตัวเลขหรือคะแนนแต่ละตัว ซึ่งวิธีนี้จะใช้กับข้อมูลที่มีจำนวนไม่มากนัก

9 ตัวอย่าง จากการสำรวจข้อมูล ส่วนสูงของนักศึกษาในสถานศึกษาแห่งหนึ่ง จำนวน 50 คนได้ข้อมูลดังนี้

10

11 นำข้อมูลจากการสำรวจส่วนสูงข้างต้นมาสร้างตารางแจกแจงความถี่ แบบที่1 ได้ดังตาราง

12 จำนวนนักศึกษาหรือความถี่
ส่วนสูง (ซม) รอยคะแนน จำนวนนักศึกษาหรือความถี่ 156 157 158 159 // 2 /// 3 //// 5 //// /// 8

13 160 161 162 163 รวม 50 //// //// /// 13 //// //// //// 15 2 // // 2

14 วิธีที่ 2. แจกแจงความถี่ข้อมูลเป็นช่วงคะแนน(อันตรภาคชั้น)
วิธีนี้ใช้กับข้อมูลจากการสำรวจที่มีจำนวนมาก จึงต้องกำหนดเป็นช่วงคะแนน(อันตรภาคชั้น)

15 ขั้นตอนของการแจกแจงความถี่ของข้อมูลเป็นช่วงคะแนน
1. หาคะแนนต่ำสุดและคะแนนสูงสุดจากข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้ที่กำหนดให้

16 2. หาค่าพิสัย(คำนวณจากคะแนน สูงสุด – คะแนนต่ำสุด)
3.กำหนดอันตรภาคชั้น(ความกว้างของข้อมูล)นิยมใช้ความกว้าง 5 หรือ10 หรือ 100 หรือ 1,000 ตามลักษณะข้อมูล

17 คำนวณจากนำค่าพิสัยหารจำนวนชั้นที่ต้องการ
4. ทำตารางเขียนอันตรภาคชั้นเรียงลำดับ มาก-น้อย หรือ น้อย-มาก

18 5. ลงข้อมูลหรือขีดรอยคะแนนแสดงจำนวนข้อมูลที่ปรากฏ
6. รวมค่าความถี่ของข้อมูลทุกอันตรภาคชั้น ผลลัพธ์เท่ากับจำนวนข้อมูลทั้งหมด

19 7.หาค่าขอบบนและขอบล่างของอันตรภาคชั้นในแต่ละชั้น
8. หาจุดกึ่งกลางชั้นได้จากสูตร จุดกึ่งกลางชั้น =ขอบล่าง+ขอบบน 2

20 ตัวอย่าง จากการสำรวจข้อมูลน้ำหนักของนักศึกษาในสถานศึกษาแห่งหนึ่งจำนวน 45 คน ได้ข้อมูลดังนี้

21

22 ให้นักเรียนสร้างตารางแจกแจงความถี่ให้มีความกว้างของอันตรภาคชั้นเป็น 5 ได้ดังนี้

23 พบกันใหม่วันพรุ่งนี้
เรื่อง สถิติ (ต่อ)


ดาวน์โหลด ppt คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google