นำเสนอโดย : นายเสน่ห์ แสงคำ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
Advertisements

โครงการเพิ่มศักยภาพการผลิตข้าวและสร้างความเข้มแข็งให้ชาวนา เพื่อรองรับผลกระทบจากการเปิดเสรีการค้าอาเซียน (AFTA) ประสานงานกับกรมการข้าว และสำนักงานเกษตรจังหวัด.
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีการปศุสัตว์
กลุ่ม ๓ ชื่อ กลุ่ม....สามซ่าๆๆ.
โครงการส่งเสริมการปลูกปาล์มน้ำมันพันธุ์ดี
โครงการ ลำไยสีทองล้านนา
กลุ่มที่ 16 ชื่อกลุ่ม ทวารวดี
กลุ่มที่ 15 กลุ่ม ลูกน้ำเค็ม
สองเล TWOSEAS.
โครงการส่งเสริมการผลิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการผักปลอดภัยฯบันไดสู่ครัวโลก
กลุ่มที่ 1 เจริญบุรี จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดอำนาจเจริญ
ขั้นตอน/วิธีการปฏิบัติตามคู่มือสำนักงานคณะกรรมการกระจายอำนาจ ฯ
กลุ่ม เก็บตะวัน กลุ่มที่ 5 กาญจนบุรี สมุทรสงคราม
กลุ่มที่ 13 มะขามทอง C.R.P. จังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา
จ.พะเยา จ.พิจิตร จ.พิษณุโลก จ.เพชรบูรณ์ จ.แพร่ จ.สุโขทัย จ.อุตรดิตถ์
กลุ่มที่ 7 บัวอุบล จังหวัดอุบลราชธานี สมาชิก 22 คน.
โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวปลอดภัย
กลุ่มที่ 16 ชื่อกลุ่ม สักงาม
แดนดอกลำดวน จังหวัดศรีสะเกษ.
โครงการ ส่งเสริมการผลิตข้าว ที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
กลุ่มสระปทุมสมุทรลพบุรี
โครงการ ส่งเสริมการผลิตข้าว ที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
กลุ่มลำปางหนา จังหวัดลำปาง กลุ่มที่ 14
กลุ่มที่ 7 ไก่บูรพา วิทยากร อ.พลภัทร วารี ผู้ช่วยวิทยากรสมชาย ชะฎาดำ.
สมาชิกกลุ่ม 6.
กลุ่ม ก.ส.น. จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดนนทบุรี
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
กลุ่มที่ 6 กลุ่ม วังบัว บาน จังหวัด เชียงใหม่ (1-26)
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายเพิ่มพูน มาประกอบ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นางสาวขวัญใจ เมฆมหัศจรรย์
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 1 ดอกแก้วภูพาน จ. สกลนคร จ. สุรินทร์ จ. หนองคาย จ. หนองบัวลำภู จ. อุดรธานี
กลุ่มที่1 กลุ่ม ส้มสามหมอก
กลุ่ม ก้าวไกลกับไอทีที่ ศบกต.
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
กิจกรรมเด่น ประจำเดือน สิงหาคม 2554
การถ่ายโอนภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กลุ่มที่ 4 กลุ่มเฟื่องฟ้า
โครงการบริหารการจัดการศัตรูพืชและการเขตกรรมเพื่อลดความเสี่ยงให้กับเกษตรกร สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร.
จังหวัดยโสธร เลย หนองคาย
กลุ่มที่ 15 กลุ่ม อ่าวสวยทะเลใส
นำเสนอโดย : นางสาวสุกัญญา เกิดกอง
กลุ่มที่ 11 กลุ่ม ศรีวิชัย
วิทยากร อ.นิภารัตน์ รัตโนภาส ผู้ช่วยวิทยากร นายปิยะพงศ์ เบาโพธิ์
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
วิสัยทัศน์จังหวัด “เมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน”
ค่าใช้จ่ายสำรองเพื่อ กระตุ้นเศรษฐกิจ งบกลาง 58,000 ล้านบาท.
นำเสนอโดย : นางนันทิยา วาสุกรี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
จังหวัดเชียงใหม่ ลำปาง
จังหวัดตาก ( ๑ - ๑๗ ), จังหวัด อุตรดิตถ์ ( ๑ - ๘ )
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
คำขวัญประจำจังหวัด เหนือสุดในสยาม ชายแดนสามแผ่นดิน ถิ่นวัฒนธรรมล้านนา
กลุ่มที่ กลุ่มที่ 9 สองแคว โครงการส่งเสริม สินค้าเกษตรที่ ปลอดภัยและได้ มาตรฐาน ( ข้าว ) วิทยากรประจำกลุ่ม อ. พล ภัทร วารี ผู้ช่วยวิทยากร นาย สมชาย ชะฎาดำ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นำเสนอโดย : นายเสน่ห์ แสงคำ กลุ่มที่ 3 สามร้อย โครงการ " สุราชุมชน " นำเสนอโดย : นายเสน่ห์ แสงคำ

รายชื่อสมาชิกกลุ่ม “ สามร้อย ” เขต1 ที่ ชื่อ - สกุล จังหวัด 1 นายวินัย ฉาบแก้ว สิงห์บุรี 2 นายมานิตย์ มีศิริ 3 นายเสนีย์ คชอัมพล 4 นายเกียรติศักดิ์ พึ่งภักดี 5 นายวันชัย ทองประชุม อ่างทอง 6 นายบุญประสงค์ เบญจผลาพันธ์ เขต4 ที่ ชื่อ - สกุล จังหวัด 13 นายดำรง อินศร อุบลราชธานี 14 นายทิน รั้งกลาง 15 นายโชติ หลาวทอง 16 นายกมล โสพัฒน์ 17 นายประดิษฐ์ จันทพันธ์ อำนาจเจริญ 18 นายสถาพร คำวงค์ปิน 19 นายชาญศักดิ์ สักขัน เขต3 ที่ ชื่อ - สกุล จังหวัด 7 นายยงยุทธ บัวโต สมุทรปราการ 8 นายชัยพร วิสารทพงศ์ 9 นางสาวจิรภา ชุ่มจิตร 10 นายมาโนชญ์ องอาจ สระแก้ว 11 นายบุญเลิศ รอดโฉม 12 นายวิรัตน์ คำยา เขต6 ที่ ชื่อ - สกุล จังหวัด 20 นายอุดม ณ วิเชียร นครสวรรค์ 21 นายเสน่ห์ แสงคำ 22 นายพิภพ พวงสายใจ

กลุ่ม “ สามร้อย ”

วิทยากรประจำกลุ่ม อ.สวาท วรนิกุลกิจ ผู้ช่วยวิทยากร วรพรรณ นาถนวผดุง

ผลสัมฤทธิ์ของโครงการ กลุ่มจังหวัด เป็นแหล่งผลิตสุราชุมชน ที่มีคุณภาพดี เกษตรกรอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นให้คงอยู่ ลดปัญหาความยากจน ตอบสนองนโยบาย ของรัฐ

ผลลัพธ์ของโครงการ เกษตรกรผู้ร่วมโครงการมีรายได้ เพิ่มขึ้น 12,000 บาท/ครัวเรือน/ปี เป็นจำนวนเงินทั้งสิ้น 5,880,000 บาท/ปี จากการจำหน่ายสุราชุมชน

ผลผลิตของโครงการ เกษตรกรมีผลิตภัณฑ์สุราชุมชนที่มี คุณภาพไว้จำหน่าย

กระบวนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ 1. กำหนดขั้นตอนการดำเนินงาน 2. การมีส่วนร่วมของเกษตรกร 3. วิธีการนำไปสู่การปฏิบัติ

กำหนดขั้นตอนการดำเนินงาน จัดทำเวทีชุมชน ประชุมชี้แจงเกษตรกร คัดเลือกเกษตรกรผู้ร่วมโครงการ เสนอโครงการเพื่อของบประมาณ

การมีส่วนร่วมของเกษตรกร ประชุมเกษตรกรผู้ร่วมโครงการ ถ่ายทอดความรู้เทคโนโลยี ผสมผสานกับภูมิปัญญาท้องถิ่น

วิธีการนำไปสู่การปฏิบัติ ปฏิบัติตามแผน

ปัจจัยที่เอื้อต่อการทำงาน กลยุทธ์หน่วยงาน การเมือง สังคมการเกษตร เศรษฐกิจ เทคโนโลยี

กลยุทธ์หน่วยงาน สนับสนุนให้เกษตรกรใช้ภูมิ ปัญญาผสมผสานกับเทคโนโลยี ในการปรับปรุงการผลิตสุราชุมชน ให้มีคุณภาพ

การเมืองและสังคมการเกษตร ประสานงานกับ อบต. เพื่อของบประมาณ สังคมการเกษตร กลุ่มวิสาหกิจชุมชน

เศรษฐกิจและเทคโนโลยี เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น เทคโนโลยี ถ่ายทอดความรู้ด้านการผลิตสุราชุมชน สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ในการผลิต

ปัจจัยนำเข้า คน เทคโนโลยี วัตถุดิบ งบประมาณ

คนและเทคโนโลยี คน เทคโนโลยี เกษตรกรผู้ร่วมโครงการ 490 ราย เกษตรกรผู้ร่วมโครงการ 490 ราย เทคโนโลยี จัดฝึกอบรมโดยเจ้าหน้าที่ของศูนย์ฯ เชิญวิทยากรฝึกอบรมเพื่อถ่ายทอดความรู้

วัตถุดิบและเงินงบประมาณ วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตสุรา ข้าวสารเหนียว ยีสต์และน้ำตาลทราย งบประมาณสำหรับโครงการ 1,115,000 บาท

ดื่มสุราทั้งที ต้องเลือกสุราดี ตรา“สามร้อย”ขวดนี้ คือสุราดีของชุมชน

สวัสดีครับ