การคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่ออุดมศึกษา ปีการศึกษา 2553 20 พฤษภาคม 2551 มิสปิยาภัทร์ วิบูลย์ศรีสัจจะ
องค์ประกอบ Admissions ปี 2551-2552 GPAX 10 % GPA กลุ่มสาระฯ 20 % O-NET A-NET 70 % O-NET สอบ 8 กลุ่มสาระฯ แต่ 3 สาระฯไม่นำมาคิดคะแนน (การงานและเทคโนโลยี ศิลปะ สุขศึกษา)
ความหมายของ O-NET A-NET O-NET (Ordinary National Educational Testing) การสอบความรู้รวบยอดปลายช่วงชั้น (6 ภาคเรียน) ของชั้น ป. 3 ป.6 ม. 3 และ ม. 6 ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ทั้ง 8 กลุ่มสาระสอบได้ 1 ครั้ง A-NET (Advanced National Educational Testing) การสอบความรู้ขั้นสูงของวิชาต่าง ๆ 11 วิชา เฉพาะนักเรียน ม. 6 ที่จะเข้ามหาวิทยาลัยของรัฐในระบบ Admissions ปี 2549 – 2552 จัดสอบประมาณเดือนมีนาคม ของทุกปี นักเรียนสามารถเก็บคะแนนไว้ได้ 2 ปี และเลือกใช้คะแนนที่ดีที่สุด
Admissions ปี 2551-2552 สทศ. www.niets.or.th สกอ. www.cuas.or.th GPAX + GPA กลุ่มสาระฯ โรงเรียน O-NET สทศ. A-NET สกอ./ทปอ. Admissions สกอ. สทศ. www.niets.or.th สกอ. www.cuas.or.th
การสมัครคัดเลือก Admissions ปี 2551-2552 เลือก 4 อันดับ เลือก 4 อันดับ สมัครผ่านเว็บไซต์ (www.cuas.or.th) จ่ายเงินผ่านธนาคาร ( e-banking)
2. O-NET 30 % 3. GAT 10 – 50 % 4. PAT 0 – 40 % Admissions 2553 องค์ประกอบ 1. GPAX 20 % 2. O-NET 30 % 3. GAT 10 – 50 % 4. PAT 0 – 40 %
Admissions 2553 GPAX ผลการเรียนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตร (ม.4- ม.6)
Admissions 2553 O-NET ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ภาษาอังกฤษ สุขศึกษา และพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี รวม 1 ฉบับ มี 3 ตอน
Admissions 2553 GAT (General Aptitude Test) ประกอบด้วย 2 ส่วน ประกอบด้วย 2 ส่วน 1. การอ่าน การเขียน การคิดเชิงวิเคราะห์ การแก้โจทย์ปัญหา (50 %) 2. การสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ (50%) เวลาสอบ 3 ชั่วโมง (ปรนัยและอัตนัยคะแนนเต็ม 300 คะแนน) นักเรียนชั้น ม.5 ขึ้นไป สมัครสอบด้วยตนเอง สอบได้ปีละ 3 ครั้ง ม.ค. พ.ค. และ ธ.ค. เก็บคะแนนสอบได้ 2 ปี
Admissions 2553 PAT ( Professional Aptitude Test) วัดความสามารถทางการเรียนเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่จะเรียนจะมีการจัดสอบ 7 วิชา (ปรนัย และอัตนัย คะแนนเต็ม 300 คะแนน ใช้เวลาสอบ 3 ชั่วโมง/วิชา) สอบได้ตั้งแต่เดือน ม.ค. พ.ค. และ ธ.ค. นักเรียนชั้น ม.5 ขึ้นไปสมัครสอบด้วยตนเอง คะแนนเก็บไว้ได้ 2 ปี
PAT PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ PAT 2 ความถนัดทางวิทยาศาสตร์
1. กลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพ สาขาวิชา GPAX % O-NET GAT PAT รวม เภสัชศาสตร์ สหเวชศาสตร์ สาธารณสุข เทคนิคการแพทย์ วิทยาศาสตร์การกีฬา 20 30 PAT2 100
1. กลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพ สาขาวิชา GPAX % O-NET GAT PAT รวม ทันตแพทยศาสตร์ และพยาบาลศาสตร์ 20 30 PAT2 100
กลุ่มวิทยาศาสตร์กายภาพและชีวภาพ สาขาวิชา GPAX % O-NET GAT PAT รวม วิทยาศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติ เทคโนโลยีสารสนเทศ 20 30 10 PAT1 PAT2 100
กลุ่มวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชา GPAX % O-NET GAT PAT รวม วิศวกรรมศาสตร์ 20 30 15 PAT2 PAT3 100
กลุ่มสถาปัตยกรรมศาสตร์ และกลุ่มครุศาสตร์ สาขาวิชา GPAX % O-NET GAT PAT รวม สถาปัตยกรรมศาสตร์ 20 30 10 PAT4 40 100 ครุศาสตร์ / ศึกษาศาสตร์ PAT5
กลุ่มเกษตรศาสตร์ สาขาวิชา GPAX % O-NET GAT PAT รวม เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร วนศาสตร์ เทคโนโลยีการเกษตร 20 30 PAT1 10 PAT2 100
กลุ่มบริหารพาณิชยศาสตร์และการบัญชี สาขาวิชา GPAX % O-NET GAT PAT รวม บริหารธุรกิจ บัญชีพาณิชยศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ 20 30 PAT1 100 การท่องเที่ยวและโรงแรม รูปแบบที่ 1 50 รูปแบบที่ 2 40 PAT7 10
กลุ่มศิลปกรรมดุริยางคศิลป์ และนาฏยศิลป์ สาขาวิชา GPAX % O-NET GAT PAT รวม วิจิตรศิลป์ ศิลปะประยุกต์ ดุริยางคศิลป์ และนาฏยศิลป์ 20 30 10 PAT6 40 100
กลุ่มมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ สาขาวิชา GPAX % O-NET GAT PAT รวม นิเทศ วารสาร อักษร มนุษยศาสตร์ ศิลปศาสตร์ รัฐศาสตร์ นิติ สังคมฯ รูปแบบ 1 พื้นฐานวิทย์ 20 30 40 PAT1 10 100 รูปแบบ 2 พื้นฐานศิลป์ แบบที่ 1 50 พื้นฐาน ศิลป์ แบบที่ 2 PAT710
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ Algebra Numerical calculations Conversions Probability Geometry Applied Mathematics (word) Problems
PAT 2 ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา เคมี ฟิสิกส์
PAT 3 ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ 1. Engineering Mathematics 2. Engineering Sciences 3. Life Sciences 4. วิชาเฉพาะสาขา
PAT 4 ความถนัดทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ เนื้อหาที่เป็นพื้นฐานการเรียนต่อ เช่น Architectural Math and Scinces ศักยภาพ Space Relations Multidimensional Perceptual Ability เป็นต้น
PAT 5 ความถนัดทางครุศาสตร์ / ศึกษาศาสตร์ 1. คณิตศาสตร์ 2. การคิดวิเคราะห์ (รูปภาพ , สถานการณ์) 3. การอ่านจับใจความ (ภาษาไทย) 4. การใช้ภาษา การสื่อสารภาษาไทย
PAT 6 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ ความรู้ ความถนัดทางศิลปะ เนื้อหาที่เป็นพื้นฐานการเรียนต่อ เช่น ทฤษฎีศิลปะ (ทัศนศิลป์ ดนตรี และนาฏศิลป์ ความรู้ทั่วไปทางศิลป์ ศักยภาพ ความคิดสร้างสรรค์
PAT 7 ความสามารถทางภาษาต่างประเทศที่ 2 ฝรั่งเศส เยอรมัน ญี่ปุ่น จีน บาลี อาหรับ
หน่วยงานที่รับผิดชอบ GPAX โรงเรียน O-NET สทศ. GAT + PAT สทศ. Admissions สกอ. สทศ. www.niets.or.th สกอ. www.cuas.or.th
กำหนดการสอบ GAT และ PAT ระยะเวลา การดำเนินการ 1-15 พฤศจิกายน 2551 รับสมัครทาง Website 7-30 พฤศจิกายน 2551 ชำระเงินผ่านธนาคาร 16-31 ธันวาคม 2551 ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบ เลขที่นั่งสอบ สนามสอบ
ตารางสอบ GAT และ PAT 1, 2 และ 3 วันที่ 17 มกราคม 2552 09.00 – 12.00 น GAT 1 13.00 – 16.00 น. PAT 1 วันที่ 18 มกราคม 2552 09.00 – 12.00 น. PAT 2 13.00 – 16.00 น. PAT 3 5 มีนาคม 2552 ประกาศผลสอบ
สถิตินักเรียน ม.6 สอบเข้าศึกษาต่อระดับอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2551 สถาบัน ปี 2548 % ปี 2549 ปี 2550 รัฐบาล เอกชน ต่างประเทศ +อินเตอร์ อื่น รวม 168 127 16 327 51.4 38.8 4.89 100 149 99 36 15 299 49.8 33.1 12 5.02 164 85 20 10 279 58.8 30.5 7.17 3.58
สรุปสถิติ แยกตามประเภทการสอบ ปีการศึกษา 2551 สรุปสถิติ แยกตามประเภทการสอบ ปีการศึกษา 2551 ประเภทการสอบ จำนวน % Admissions 106 37.99 สอบตรง / โควตา 124 44.44 มหาวิทยาลัยภาคอินเตอร์ 9 3.23 ทุนมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ 18 6.45 ทุนมหาวิทยาลัยอื่น 1 0.36 ศึกษาต่อต่างประเทศ 11 3.94 อื่น ๆ 10 3.58 รวม 279 100
สรุปสถิติสอบเข้าศึกษาต่อ ปีการศึกษา 2551 แยกตามสถาบัน สรุปสถิติสอบเข้าศึกษาต่อ ปีการศึกษา 2551 แยกตามสถาบัน มหาวิทยาลัย จำนวน % จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 30 11.15 ธรรมศาสตร์ 21 7.81 เกษตรศาสตร์ 24 8.92 มหิดล 25 9.29 ม.อัสสัมชัญ 55 20.45
วิริยะ อุตสาหะ นำมาซึ่งความสำเร็จ