งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ศาสตราจารย์ ดร.อุทุมพร จามรมาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ศาสตราจารย์ ดร.อุทุมพร จามรมาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ศาสตราจารย์ ดร.อุทุมพร จามรมาน
O-NET GAT PAT และ Admissions โดย ศาสตราจารย์ ดร.อุทุมพร จามรมาน ปรับปรุงล่าสุด 2 กุมภาพันธ์ 2552

2 ช่องทางเข้ามหาวิทยาลัยของรัฐ
การเข้ามหาวิทยาลัยมี 2 ช่องทาง 1. ระบบรับตรง โควตา พิเศษ มหาวิทยาลัยทำเอง รับ 50% ของที่นั่ง รู้ผล ธันวาคม 2. ระบบรับกลาง (Admission กลาง) นักเรียนต้องสมัคร เสียค่า สมัคร 4 ลำดับ 250 บาท รู้ผลช่วงปลายเมษายน

3 Admissions กลาง คืออะไร
คือการรับคนเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยของรัฐ 23 แห่ง องค์ประกอบ ปี 2549 – 2552 ทปอ. จะใช้องค์ประกอบ ดังนี้ GPAX (6 ภาคเรียน) % GPA (3-5 จาก 8 กลุ่มสาระ) 20% O-NET (4-5 วิชาหลัก) % A-NET/วิชาเฉพาะ/วิชาปฏิบัติ (รวมไม่เกิน 3 วิชา)0-35% รวม 100%

4 Admissions กลาง ปี 2553 ทปอ. จะใช้องค์ประกอบ ดังนี้
GPAX 6 ภาคเรียน 20% O-NET (8 กลุ่มสาระ) 30% GAT 1 ฉบับ % PAT หลายฉบับ % รวม %

5 Admissions กลาง GPAX คือ ผลการเรียนเฉลี่ยสะสม 6 ภาคเรียนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ GAT คือ General Aptitude Test ความถนัดทั่วไป PAT คือ Professional and Academic Aptitude Test ความถนัดทาง วิชาการและวิชาชีพ

6 Admissions กลาง O-NET (Ordinary National Educational Test)
คือ การสอบความรู้รวบยอดปลายช่วงชั้น (6 ภาคเรียน) ของชั้น ป.6 ม.3 และ ม.6 ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ของหลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พ.ศ ทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ นักเรียนที่กำลังจะ จบชั้น ป.6 ม.3 และ ม.6 สอบได้ 1 ครั้ง

7 Admissions กลาง A-NET (Advanced National Educational Test)

8 O-NET สอบอะไร 1. วิชาภาษาไทย สาระ จำนวนข้อสอบ ป.6 (วิชา 61) ม.3
(วิชา 91) ม.6 (วิชา 01) 1. การอ่าน 9 6 20 2. การเขียน 2 3. การฟัง การดู และการพูด 3 4. หลักการใช้ภาษา 23 25 34 5. วรรณคดี และวรรณกรรม 4 7 รวม 40 50 100

9 O-NET สอบอะไร 2. วิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระ จำนวนข้อสอบ ม.3
(วิชา 95) ม.6 (วิชา 02) 1. ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม 10 20 2. หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม 3. เศรษฐศาสตร์ 4. ประวัติศาสตร์ 5. ภูมิศาสตร์ รวม 50 100

10 แทรกอยู่ใน สาระที่ 1 และ 2
O-NET สอบอะไร 3. วิชาภาษาอังกฤษ สาระ จำนวนข้อสอบ ม.3 (วิชา 94) ม.6 (วิชา 03) 1. ภาษาเพื่อการสื่อสาร 32 71 2. ภาษาและวัฒนธรรม 8 29 3. ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้ แทรกอยู่ใน สาระที่ 1 และ 2 4. ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนโลก สถานการณ์ที่แทรกใน สาระที่ 1 และ 2 รวม 40 100

11 ใช้ในการแก้ปัญหาบางข้อ
O-NET สอบอะไร 4. วิชาคณิตศาสตร์ สาระ จำนวนข้อสอบ ป.6 (วิชา 64) ม.3 (วิชา 94) ม. 6 (วิชา 04) 1. จำนวนและการดำเนินการ 15 7 6 2. การวัด 3 5 3. เรขาคณิต 4 ใช้ในการแก้ปัญหาบางข้อ 4. พีชคณิต 2 5. การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น 16 6. ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์ แทรกอยู่ใน สาระที่ 1 - 5 รวม 25 30 40

12 O-NET สอบอะไร 5. วิชาวิทยาศาสตร์ สาระ จำนวนข้อสอบ ป.6 (วิชา 65) ม.3
(วิชา 95) ม. 6 (วิชา 05) 1. สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต 7 6 16 2. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 3 4 3. สารและสมบัติของสาร 8 10 22 4. แรงและการเคลื่อนที่ 5 13 5. พลังงาน 9 6. กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก 7. ดาราศาสตร์และอวกาศ 8. ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แทรกอยู่ใน สาระที่ 1 - 7 สาระที่ 1 – 7 รวม 40 80

13 O-NET สอบอะไร 6. รวม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ไว้ใน 1 ฉบับ
สุขศึกษาและพลศึกษา สาระ จำนวนข้อสอบ ม.6 (วิชา 06) 1. การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ 6 2. ชีวิตและครอบครัว 7 3. การเคลื่อนไหว การออกกำลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล 16 4. การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการป้องกันโรค 5 5. ความปลอดภัยในชีวิต รวม 40

14 O-NET สอบอะไร 6. รวม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ไว้ใน 1 ฉบับ วิชาศิลปะ สาระ
จำนวนข้อสอบ ม.6 (วิชา 06) 1. ทัศนศิลป์ 14 2. ดนตรี 13 3. นาฏศิลป์ รวม 40

15 O-NET สอบอะไร 6. รวม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ไว้ใน 1 ฉบับ
วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี สาระ จำนวนข้อสอบ ม.6 (วิชา 06) 1. การดำรงชีวิตและครอบครัว 11 2. การอาชีพ แทรกอยู่ใน สาระที่ 1, 3 -5 3. การออกแบบและเทคโนโลยี 6 4. เทคโนโลยีสารสนเทศ 16 5. เทคโนโลยีเพื่อการทำงานและอาชีพ 7 รวม 40

16 จำนวนผู้เข้าสอบและสังกัด
ป.6 ม.3 ม.6 สังกัด จำนวน รร. จำนวน นร. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 28,658 710,909 9,411 676,358 2,586 290,937 สำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 1,811 173,166 1,077 108,008 657 43,691 สำนักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน 266 2,186 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 148 3,142 สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 24 2,623 25 4,321 30 4,132 โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ 1 239

17 จำนวนผู้เข้าสอบและสังกัด
ป.6 ม.3 ม.6 สังกัด จำนวน รร. จำนวน นร. สำนักการศึกษาพิเศษ 2 38 1 14 สำนักการศึกษาพัทยา 10 1,633 958 โฮมสคูล 8 118 3 4 กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น 592 47,441 535 46,950 269 15,342 สำนักการศึกษา กทม. 432 45,056 73 7,017 5 303 กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ 29 กรมยุทธศึกษาทหารกองบัญชาการทหารสูงสุด 649 กองทัพเรือ

18 จำนวนผู้เข้าสอบและสังกัด
ป.6 ม.3 ม.6 สังกัด จำนวน รร. จำนวน นร. กองทัพอากาศ 1 105 71 สถาบันพลศึกษา 15 11 695 466 สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ 36 10 1,000 16 946 สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ 2 35 391 9,739 231 2,679 กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน 175 2,963 93 โรงเรียนสาขา 3 23 รวม 31,721 984,085 11,550 855,272 4,224 364,784

19 วิธีการจัดสอบ ผู้ออกข้อสอบ คือ ครูและอาจารย์มหาวิทยาลัยที่เชี่ยวชาญในวิชานั้นๆ ออกข้อสอบ ตามมาตรฐานการเรียนรู้ และออกข้อสอบให้มีข้อที่ยากปานกลาง เป็นส่วนใหญ่ การจัดสอบใช้เครือข่าย 3.1 O-NET ป.6 1) เขตพื้นที่การศึกษา แห่ง 2) ท้องถิ่นจังหวัด แห่ง 3) สำนักการศึกษาเมืองพัทยา 1 แห่ง 4) สำนักการศึกษากทม. 1 แห่ง รวม 262 แห่ง

20 วิธีการจัดสอบ (ต่อ) 3.2 O-NET ม.3 1) เขตพื้นที่การศึกษา 185 แห่ง
1) เขตพื้นที่การศึกษา แห่ง 2) ท้องถิ่นจังหวัด แห่ง 3) สำนักการศึกษาเมืองพัทยา 1 แห่ง 4) สำนักการศึกษากทม. 1 แห่ง รวม 260 แห่ง 3.3 O-NET ม.6 มหาวิทยาลัยทั่วประเทศ 19 แห่ง

21 ระเบียบการเข้าห้องสอบ
ไปผิดสนามสอบ ไม่มีสิทธิ์สอบ ไม่มีเลขที่นั่งสอบ ไม่มีสิทธิ์สอบ ไปสายเกิน 30 นาที ไม่มีสิทธิ์สอบ ห้ามนำเครื่องมือสื่อสารเข้าห้องสอบ ให้นั่งสอบจนหมดเวลา ใส่นาฬิกาดูเวลาได้ แต่ต้องไม่ใช่นาฬิกามือถือ

22 ค่าสถิติคะแนน O-NET ป.6 ปีการศึกษา 2550
รหัสวิชา วิชา N คะแนนต่ำสุด คะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ย SD 61 ภาษาไทย 961,566 2.50 92.50 36.58 10.94 64 คณิตศาสตร์ 961,014 0.00 100.00 47.54 17.84 65 วิทยาศาสตร์ 961,613 49.57 17.70 63 ภาษาอังกฤษ 961,544 38.66 16.96

23 O-NET ม.6 ปีการศึกษา 2550 (29 ก.พ. – 1 มี.ค. 51)
ค่าสถิติคะแนน O-NET ม.6 ปีการศึกษา 2550 (29 ก.พ. – 1 มี.ค. 51) n Mean SD Min. Max. ภาษาไทย 328,561 50.70 14.01 1.25 96.25 สังคมฯ 329,805 37.76 9.45 0.00 88.75 ภาษาอังกฤษ 329,665 30.93 10.77 8.00 99.00 คณิตศาสตร์ 329,824 32.49 12.17 2.00 100.00 วิทยาศาสตร์ 328,550 34.62 12.53 8.75 98.75 สุขศึกษาและพลศึกษา 327,780 52.71 7.56 84.00 ศิลปะ 41.61 8.68 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 49.53 9.03

24 เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย O-NET ม.6 3 ปี
ค่าสถิติคะแนน เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย O-NET ม.6 3 ปี 2548 2549 2550 ภาษาไทย 48.62 50.33 50.70 สังคมฯ 42.64 37.94 37.76 ภาษาอังกฤษ 29.81 32.37 30.93 คณิตศาสตร์ 28.46 29.56 32.49 วิทยาศาสตร์ 34.01 34.88 34.62

25 ความถนัดทั่วไป (GAT : General Aptitude Test)
สอบ 3 ชั่วโมง การวัดศักยภาพในการเรียนในมหาวิทยาลัยให้ประสบความสำเร็จ มี 2 ส่วน ส่วนที่ 1 คือ ความสามารถในการอ่าน เขียน คิดวิเคราะห์ และแก้ปัญหา จำนวน 20 ข้อ 150 คะแนน ส่วนที่ 2 คือ ความสามารถในการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษจำนวน 60 ข้อ 150 คะแนน

26 ความถนัดทางวิชาการและวิชาชีพ (PAT : Professional and Academic Aptitude Test)
มี 7 ประเภท โดยสอบประเภทละ 3 ชั่วโมง 300 คะแนน PAT 1 ได้แก่ ความถนัดทางคณิตศาสตร์ PAT 2 ได้แก่ ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ PAT 3 ได้แก่ ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ PAT 4 ได้แก่ ความถนัดทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ PAT 5 ได้แก่ ความถนัดทางครู PAT 6 ได้แก่ ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ PAT 7 ได้แก่ ความถนัดในการเรียนภาษาต่างประเทศ PAT 7.1 ภาษาฝรั่งเศส PAT 7.4 ภาษาจีน PAT 7.2 ภาษาเยอรมัน PAT 7.5 ภาษาบาลี PAT 7.3 ภาษาญี่ปุ่น PAT 7.6 ภาษาอาหรับ

27 PAT สิ่งที่วัด จำนวนข้อ PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ เนื้อหา ตรรกศาสตร์ เซต ระบบจำนวนจริง ความสัมพันธ์ และฟังก์ชัน ฟังก์ชันตรีโกณมิติ เรขาคณิตวิเคราะห์ ฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียล และ ฟังก์ชันลอการิทึม เมทริกซ์ เวกเตอร์ จำนวนเชิงซ้อน กำหนดการเชิงเส้น ลำดับและ อนุกรม แคลคูลัสเบื้องต้น การเรียงสับเปลี่ยน และ การจัดหมู่ ความน่าจะเป็น การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น การแจกแจงปกติ ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล (45) ศักยภาพ การคิด และแก้ปัญหาเชิงคณิตศาสตร์ (5) รวม 50

28 PAT สิ่งที่วัด จำนวนข้อ PAT 2 ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ เนื้อหา เคมี ชีววิทยา สิ่งแวดล้อม ฟิสิกส์ โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ 113 ศักยภาพ คิดแบบนักวิทยาศาสตร์ แก้ปัญหาแบบนักวิทยาศาสตร์ ทักษะการอ่านบทความแบบนักวิทยาศาสตร์ 10 รวม 123

29 PAT สิ่งที่วัด จำนวนข้อ PAT 3 ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ เนื้อหา 1. กลศาสตร์ (แรง มวล และการเคลื่อนที่) 2. ไฟฟ้า แม่เหล็กไฟฟ้า คลื่น แสง และเสียง 3. เคมี (สาร และสมบัติของสาร) 4. พลังงาน ความร้อน และของไหล 5. คณิตศาสตร์ และสถิติประยุกต์เชิงวิศวกรรม 51 ศักยภาพ 1. การคิดวิเคราะห์ 2. ความถนัดเชิงช่าง 3. ความคิดเชิงตรรกะ 4. สามัญสำนึกเรื่องความปลอดภัยกับสิ่งแวดล้อม 5. การแก้ปัญหา 6. ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 9 รวม 60

30 PAT สิ่งที่วัด จำนวนข้อ PAT 4 ความถนัดทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ เนื้อหา 1. วิทยาศาสตร์ 2. คณิตศาสตร์ 3. ความรู้ทั่วไปทางสถาปัตยกรรม และการออกแบบ 20 ศักยภาพ 1.การสื่อสารทางการออกแบบ (visual communication) 2. มิติสัมพันธ์ 3. การออกแบบและสิ่งแวดล้อม 4. การออกแบบกับมนุษย์และสังคม 5. การคิดแก้ปัญหา และตรรกศาสตร์ 41 รวม 61

31 PAT สิ่งที่วัด จำนวนข้อ PAT 5 ความถนัดทาง วิชาชีพครู เนื้อหา 1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม 2. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 3. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับมนุษยศาสตร์ 4. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพัฒนาการศึกษา 60 ศักยภาพ 1. ความสามารถในการคิดทางการศึกษา ในบริบทของ ความเป็นครู 2. ความสามารถในการสื่อสารเพื่อการเรียนการสอน และความสามารถในการแสวงหาความรู้ 3. อัตลักษณ์ความเป็นครู ด้านพุทธิพิสัย 90 รวม 150

32 PAT สิ่งที่วัด จำนวนข้อ PAT 6 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ เนื้อหา 1. ความรู้ทั่วไป 2. ทฤษฎี 3. ประวัติศาสตร์และวรรณคดี 4. บูรณาการความรู้ ทัศนศิลป์ ดนตรี นาฏยศิลป์ 70 ศักยภาพ 1. การรับรู้ 2. การคิดวิเคราะห์ 3. ความคิดสร้างสรรค์ 30 รวม 100

33 PAT สิ่งที่วัด จำนวนข้อ PAT 7.1 ภาษาฝรั่งเศส เนื้อหา 1. คำศัพท์พื้นฐาน (Lexique) 2. ไวยากรณ์และโครงสร้าง (Grammaire) 3. สำนวนในสถานการณ์ต่างๆ(Socio-culturel) 4. วัฒนธรรมฝรั่งเศส และฝรั่งเศสปัจจุบัน (Culture –la vie quotidienne) 5. การออกเสียง (Prononciation) 40 ศักยภาพ 1. ความสามารถในการอ่านจับใจความ 2. ความสามารถในการตีความ 3. ความสามารถในการขยายความ และสรุปความ 4. ความสามารถในการสื่อสาร 5. ทักษะการเขียน 6. การใช้ภาษาในเชิงอาชีพ 60 รวม 100

34 PAT สิ่งที่วัด จำนวนข้อ PAT 7.2 ภาษาเยอรมัน เนื้อหา 1. คำศัพท์พื้นฐานระดับมัธยมปลาย (Grundwortschatz) 2. ไวยากรณ์ (Grammatik) 3. วัฒนธรรม ชีวิตความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมประเพณี (Brauchtum) การเฉลิมฉลองต่างๆ ของชาวเยอรมัน (Feste) และการใช้เวลาว่างในวันหยุด (Freizeitbeschäftigung) 40 ศักยภาพ ความสามารถในการใช้ภาษาเยอรมันในสถานการณ์ต่างๆ ได้ถูกต้องและเหมาะสม (sprachliche Ausdrücke in verschiedenen Situationen) และสำนวน (Redewendungen) ความสามารถในการอ่านจับใจความ การตีความ การขยายความและการสรุปความ (Cloze-Test, Lesetext) 60 รวม 100

35 PAT สิ่งที่วัด จำนวนข้อ PAT 7.3 ภาษาญี่ปุ่น เนื้อหา 1. คำศัพท์ขั้นพื้นฐาน 2. คันจิขั้นพื้นฐาน 3. ไวยากรณ์ขั้นพื้นฐาน 4. สำนวนขั้นพื้นฐานทั่วไปในชีวิตประจำวัน 5. ญี่ปุ่นศึกษา 30 ศักยภาพ 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการเขียน 3. ความสามารถในการอ่าน 70 รวม 100

36 PAT สิ่งที่วัด จำนวนข้อ PAT 7.4 ภาษาจีน เนื้อหา 1. คำศัพท์ 2. ไวยากรณ์และโครงสร้าง 3. สำนวน 60 ศักยภาพ 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการเขียน 3. ความสามารถในการอ่าน 40 รวม 120

37 PAT สิ่งที่วัด จำนวนข้อ PAT 7.5 ภาษาอาหรับ เนื้อหา 1. ไวยากรณ์ 2. วัฒนธรรมการใช้ภาษาอาหรับ-ไทย 3. คำศัพท์ 4. ความเข้าใจภาษา 48 ศักยภาพ 1. ความสามารถในการสื่อสารตามสถานการณ์ 2. ความสามารถในการแยกแยะ 3. ความสามารถในการฟัง พูด อ่าน เขียน ทักษะทางภาษาอาหรับ 32 รวม 80

38 PAT สิ่งที่วัด จำนวนข้อ PAT 7.6 ภาษาบาลี เนื้อหา 1. คำศัพท์พื้นฐาน 2. ไวยากรณ์และโครงสร้าง 3. ความเข้าใจภาษา 70 ศักยภาพ 1. ความสามารถในการอ่านเขียน 2. ความสามารถในการแปลความ 3. ความสามารถในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และตีความ 30 100

39 ตัวอย่างข้อสอบ GAT / PAT

40 GAT ความถนัดทั่วไป

41

42

43 PAT1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์

44 PAT2 ความถนัดทางวิทยาศาสตร์

45 PAT3 ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์

46 PAT4 ความถนัดทางสถาปัตยกรรมศาสตร์

47 PAT5 ความถนัดทางวิชาชีพครู

48 PAT6 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์

49 ที่อยู่ สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
128 อาคารพญาไท พลาซ่า ชั้น 36 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ 02 – 219 – 2992 – 5 Call Center 02 – 975 – 5599 เวลา – น. ตั้งแต่ 1 พ.ย. 51 – 31 พ.ค. 52 โทรสาร 02 – 219 – 2996 Website


ดาวน์โหลด ppt ศาสตราจารย์ ดร.อุทุมพร จามรมาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google