โรงเรียนสายธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
Advertisements

สรุปภาพรวมการเรียนรู้
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
แผนที่โรงเรียนอนุบาลเชียงใหม่
โรงเรียนวัดเขาปิ่นทอง
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ค่ามัธยฐาน จัดทำโดย อ.เทวี บัวแย้ม.
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
กับการสร้างหน่วยการเรียนรู้
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4-6 ชื่อแผน บ้านดินน่าอยู่
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๑. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน จำนวน ๑๐ ข้อ ๒
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1. วิชาสังคม ศาสนาและวัฒนธรรม ป.4
การแก้สมการที่เกี่ยวกับ เลขยกกำลัง
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรที่เน้นเนื้อหาเป็นหลักสำคัญ
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน มัธยมศึกษาปีที่ 1
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
สรุปภาพรวมการเรียนรู้
เรื่อง เขาเป็นใครหนอ ? เขามาจากไหน ?
สร้างสรรค์งานโดย ครูพงศ์ศักดิ์ อินปา
แผนการจัดการเรียนรู้
โครงงาน “นำเที่ยวงานชมรมนิทรรศน์”
ครูเสน่ห์ อุ่นสิม จำใจเสนอ.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง 中国货币 (สกุลเงินจีน) ช่วงชั้นที่ที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ครูนาฎหทัย สิทธิบุญ โรงเรียนแกลง“วิทยสถาวร”จังหวัดระยอง.
แม่แบบแผนการจัดการเรียนรู้
สรุปภาพรวมการเรียนรู้ เรื่อง หมุนเวลาพาเพลิน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ครูอิงครัต กังวาลย์ โรงเรียนทุ่งสง
สรุปเนื้อหาหน่วยการเรียนรู้
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
สรุปภาพรวมของหน่อยการเรียนรู้
หลักการพัฒนา หลักสูตร
ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร และบริบทของสถานศึกษา
การสอนแบบ Backward Design
ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้ (Theme)
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การวัดและประเมินพัฒนาการของผู้เรียน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระบวนการทำแผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4-6 ชื่อแผน ออกแบบบ้านในฝันน่าอยู่
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
ผลแห่งความสำเร็จ 3 ห หลักเกณฑ์ หลักการ หลักฐาน.
สายวิชาเคมี ชั้นปีที่ 3
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
นางพรพรรณ สนทอง โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
Backward Design โดย อาจารย์ประจำวิชาฟิสิกส์ชั้นปีที่ ๓
หลักสูตรประวัติศาสตร์ท้องถิ่น จำรัส เพชรทับ
กระบวนการ การออกแบบการเรียนการสอน แนวคิดสำคัญ เริ่มจากการคิดทุกอย่างให้จบสิ้น จึงเริ่มต้นจากปลายทางที่ ผลผลิตที่ต้องการ เป็นหลักฐาน พยานแห่งการเรียนรู้
ชื่อหน่วย กราฟของฟังก์ชัน วิชา คณิตศาสตร์ GSP 1 รหัสวิชา ค
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรงเรียนสายธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

หน้าที่และมารยาทของชาวพุทธ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 17 หน้าที่ชาวพุทธ หน้าที่และมารยาทของชาวพุทธ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 17 หน้าที่ชาวพุทธ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนัก และปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธำรงรักษา พระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ มฐ.ส 1.2 ป.5/1 จัดพิธีกรรมตามศาสนาที่ตนนับถืออย่างเรียบง่ายมีประโยชน์และปฏิบัติตนถูกต้อง

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด 1. อธิบายหน้าที่ชาวพุทธ การจัดพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา (K) 2. จำแนกการจัดพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา (P) 3. เห็นคุณค่าและรักษาธรรมปฏิบัติของพระพุทธศาสนาให้ดำรงอยู่สืบไป (A) สาระสำคัญ หน้าที่ชาวพุทธ ต้องรู้จักการจัดพิธีกรรมตามหลักพระพุทธศาสนาที่เรียบง่าย มีประโยชน์และปฏิบัติถูกต้อง

สาระการเรียนรู้ 1. ความรู้ การจัดพิธีกรรมตามหลักพระพุทธศาสนา 2. ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด การจำแนก การให้เหตุผล การสรุปความรู้ การจัดระบบความคิดเป็นแผนภาพ 3. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง

ความเข้าใจที่คงทน (EnduringUnderstanding) นักเรียนสามารถสรุปได้ว่า หน้าที่ชาวพุทธต้องรู้จักการจัดพิธีกรรมที่เรียบง่าย มีประโยชน์และปฏิบัติถูกต้อง เพื่อรักษาธรรมเนียมปฏิบัติของพระพุทธศาสนาให้ดำรงอยู่สืบไป ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้) 1. แผนภาพการจัดพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา 2. ใบงานที่ 11 หน้าที่ชาวพุทธ

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเข้าร่วมพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา โดยครูใช้คำถาม ดังนี้ - นักเรียนเคยเข้าร่วมพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนาหรือไม่ (ตัวอย่างคำตอบ เคย / ไม่เคย) - นักเรียนปฏิบัติตนอย่างไรในการเข้าร่วมพิธีกรรมดังกล่าว (ตัวอย่างคำตอบไม่พูดคุยเสียงดัง สำรวมกาย วาจา)

2. ให้นักเรียนร่วมกันอ่านเนื้อหาเรื่อง พิธีกรรมที่ถูกต้องตามหลักพระพุทธศาสนา 3. ครูทำบัตรคำชื่อพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนาและแบ่งช่องบนกระดานออกเป็น 3 ช่อง เขียนชื่อประเภทของพิธีกรรมไว้ในช่องว่าง จากนั้นให้นักเรียนนำบัตรคำมาติดลงในช่องว่างให้สัมพันธ์กัน

การจัดบรรยากาศเชิงบวก ให้นักเรียนร่วมกันจัดเรียงบัตรคำและสรุปความรู้เรื่องหน้าที่ชาวพุทธเป็นแผนภาพ สื่อการเรียนรู้ 1. บัตรคำพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา 2. ใบงานที่ 11 หน้าที่ชาวพุทธ

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 1. วิธีการวัดและประเมินผล 1.1 สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม 1.2 ตรวจใบงานที่ 11 2. เครื่องมือ - แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม 3. เกณฑ์การประเมิน - การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม ผ่านตั้งแต่ 2 รายการถือว่า ผ่าน ผ่าน 1 รายการถือว่า ไม่ผ่าน

กิจกรรมเสนอแนะ ครูนำนักเรียนเข้าร่วมพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา เช่น การถวายสังฆทาน การร่วมงานพิธีวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เป็นต้น

การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics)