การคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่ออุดมศึกษา ปีการศึกษา 2553 8 พ.ย. 2551
2. O-NET 30 % 3. GAT 10 – 50 % 4. PAT 0 – 40 % Admissions 2553 องค์ประกอบ 1. GPAX 20 % 2. O-NET 30 % 3. GAT 10 – 50 % 4. PAT 0 – 40 %
Admissions 2553 GPAX ผลการเรียนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตร (ม.4- ม.6)
ความหมายของ O-NET O-NET (Ordinary National Educational Testing) การสอบความรู้รวบยอดปลายช่วงชั้น (6 ภาคเรียน) ของชั้น ป. 3 ป.6 ม. 3 และ ม. 6 ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ทั้ง 8 กลุ่มสาระ สอบได้ 1 ครั้ง
Admissions 2553 O-NET ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ภาษาอังกฤษ สุขศึกษา และพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี รวม 1 ฉบับ มี 3 ตอน
GAT GAT (General Aptitude Test) คือความถนัดทั่วไป วัดศักยภาพในการเรียนในมหาวิทยาลัยให้ประสบความสำเร็จ ประกอบด้วย 2 ส่วน 1. การอ่าน การเขียน การคิดเชิงวิเคราะห์ การแก้โจทย์ปัญหา (50 %) 2. การสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ (50%) เวลาสอบ 3 ชั่วโมง (ปรนัยและอัตนัยคะแนนเต็ม 300 คะแนน) สอบได้ปีละ 3 ครั้ง มีนาคม กรกฎาคม ตุลาคม เก็บคะแนนสอบได้ 2 ปี
PAT PAT ( Professional and Academic Aptitude Test) วัดความสามารถทางการเรียนเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่จะเรียนจะมีการจัดสอบ 7 วิชา (ปรนัย และอัตนัย คะแนนเต็ม 300 คะแนน ใช้เวลาสอบ 3 ชั่วโมง/วิชา) สอบได้ตั้งแต่เดือน มีนาคม กรกฎาคม และตุลาคม คะแนนเก็บไว้ได้ 2 ปี
PAT PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ PAT 2 ความถนัดทางวิทยาศาสตร์
1. กลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพ สาขาวิชา GPAX % O-NET GAT PAT รวม เภสัชศาสตร์ สหเวชศาสตร์ สาธารณสุข เทคนิคการแพทย์ วิทยาศาสตร์การกีฬา 20 30 PAT2 100
1. กลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพ สาขาวิชา GPAX % O-NET GAT PAT รวม ทันตแพทยศาสตร์ และพยาบาลศาสตร์ 20 30 PAT2 100
กลุ่มวิทยาศาสตร์กายภาพและชีวภาพ สาขาวิชา GPAX % O-NET GAT PAT รวม วิทยาศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติ เทคโนโลยีสารสนเทศ 20 30 10 PAT1 PAT2 100
กลุ่มวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชา GPAX % O-NET GAT PAT รวม วิศวกรรมศาสตร์ 20 30 15 PAT2 PAT3 100
กลุ่มสถาปัตยกรรมศาสตร์ และกลุ่มครุศาสตร์ สาขาวิชา GPAX % O-NET GAT PAT รวม สถาปัตยกรรมศาสตร์ 20 30 10 PAT4 40 100 ครุศาสตร์ / ศึกษาศาสตร์ PAT5
กลุ่มเกษตรศาสตร์ สาขาวิชา GPAX % O-NET GAT PAT รวม เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร วนศาสตร์ เทคโนโลยีการเกษตร 20 30 PAT1 10 PAT2 100
กลุ่มบริหารพาณิชยศาสตร์และการบัญชี สาขาวิชา GPAX % O-NET GAT PAT รวม บริหารธุรกิจ บัญชีพาณิชยศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ 20 30 PAT1 100 การท่องเที่ยวและโรงแรม รูปแบบที่ 1 50 รูปแบบที่ 2 40 PAT7 10
กลุ่มศิลปกรรมดุริยางคศิลป์ และนาฏยศิลป์ สาขาวิชา GPAX % O-NET GAT PAT รวม วิจิตรศิลป์ ศิลปะประยุกต์ ดุริยางคศิลป์ และนาฏยศิลป์ 20 30 10 PAT6 40 100
กลุ่มมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ สาขาวิชา GPAX % O-NET GAT PAT รวม นิเทศ วารสาร อักษร มนุษยศาสตร์ ศิลปศาสตร์ รัฐศาสตร์ นิติ สังคมฯ รูปแบบ 1 พื้นฐานวิทย์ 20 30 40 PAT1 10 100 รูปแบบ 2 พื้นฐานศิลป์ แบบที่ 1 50 พื้นฐาน ศิลป์ แบบที่ 2 PAT710
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ Algebra Numerical calculations Conversions Probability Geometry Applied Mathematics (word) Problems
PAT 2 ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา เคมี ฟิสิกส์
PAT 3 ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ 1. Engineering Mathematics 2. Engineering Sciences 3. Life Sciences 4. วิชาเฉพาะสาขา
PAT 4 ความถนัดทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ เนื้อหาที่เป็นพื้นฐานการเรียนต่อ เช่น Architectural Math and Scinces ศักยภาพ Space Relations Multidimensional Perceptual Ability เป็นต้น
PAT 5 ความถนัดทางครุศาสตร์ / ศึกษาศาสตร์ 1. คณิตศาสตร์ 2. การคิดวิเคราะห์ (รูปภาพ , สถานการณ์) 3. การอ่านจับใจความ (ภาษาไทย) 4. การใช้ภาษา การสื่อสารภาษาไทย
PAT 6 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ ความรู้ ความถนัดทางศิลปะ เนื้อหาที่เป็นพื้นฐานการเรียนต่อ เช่น ทฤษฎีศิลปะ (ทัศนศิลป์ ดนตรี และนาฏศิลป์ ความรู้ทั่วไปทางศิลป์ ศักยภาพ ความคิดสร้างสรรค์
PAT 7 ความสามารถทางภาษาต่างประเทศที่ 2 ฝรั่งเศส เยอรมัน ญี่ปุ่น จีน บาลี อาหรับ
หน่วยงานที่รับผิดชอบ GPAX โรงเรียน O-NET สทศ. GAT + PAT สทศ. Admissions สกอ. สทศ. www.niets.or.th สกอ. www.cuas.or.th
ประเด็นสำคัญในการสมัครสอบ GAT PAT รอบปี 2553 การสอบรอบปี 2553 สทศ. จะปรับให้สมัครใหม่ เป็นการสมัครแบบครั้งต่อครั้ง ผู้มีสิทธิ์สอบรอบปี 2553 คือ นักเรียน ม.4 ม.5 และ ม.6 ม.5 (ม.4 ปัจจุบัน) มีโอกาสสอบ 4 รอบ คือ มี.ค. ก.ค. ต.ค. 53 และ มี.ค. 54 ม.4 (ม. 3 ปัจจุบัน) มีโอกาสสอบ 7 รอบ คือ มี.ค. ก.ค. ต.ค. 53 มี.ค. ก.ค. ต.ค. 54 และ มี.ค. 55