“รักษ์ป่าน่าน” “รักษ์ป่าน่าน” ยุทธศาสตร์ “รักษ์ป่าน่าน” ยุทธศาสตร์ “รักษ์ป่าน่าน”
จังหวัดน่านประกอบด้วย 15 อำเภอ 99 ตำบล 890 หมู่บ้าน พื้นที่ของจังหวัดน่าน ทั้งหมด 7,651,585 ไร่
แผนที่แสดงลุ่มน้ำหลัก ในจังหวัดน่าน น้ำท่าง น้ำฮาว ลำน้ำย่่าง น้ำเหมือง น้ำสะรอนะ น้ำยาว แม่น้ำยาว น้ำยาง น้ำเหมือง แม่น้ำสมุน น้ำซาว น้ำปัว น้ำยาง น้ำว้า น้ำสา ห้วยบอน น้ำสาคร น้ำมวบ แม่น้ำ
40% ของแม่น้ำเจ้าพระยา น่าน แม่น้ำสายหลัก ของประเทศไทย ปิง วัง ยม น่าน ปิง วัง ยม น่าน บรรจบรวมเป็นแม่น้ำเจ้าพระยา 40% ของแม่น้ำเจ้าพระยา ที่มา : วิชาการธรณีไทย GeoThai.net
น่านมีพื้นที่ป่าสงวนตาม พระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 6,435,792 ไร่ หรือ 84% ของพื้นที่ทั้งจังหวัด พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ พื้นที่นอกป่าสงวนแห่งชาติ
วิเคราะห์แผนที่ภูมิศาสตร์ป่าไม้น่านด้วยดาวเทียม ดาวเทียมแลนด์แซท-5 ที่มา : สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)
วิเคราะห์แผนที่ภูมิศาสตร์ป่าไม้น่านด้วยดาวเทียม ดาวเทียมไทยโชต ที่มา : สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)
พื้นที่ป่าไม้จังหวัดน่าน ปี 2507-2556 จำนวนพื้นที่ (ล้านไร่) 2547 2551 2556 ปี
พื้นที่ป่าไม้จังหวัดน่านหายไปเฉลี่ยต่อปี จำนวนพื้นที่ (ไร่) 125,402 52,947 17,942 ช่วงปี ปี 2507-2547 ปี 2547-2551 ปี 2551-2556
ปัจจุบันพื้นที่ป่าหายไป 1,543,519 ไร่ หรือ 24% ของพื้นที่ป่าไม้ทั้งหมด พื้นที่ปลูกพืชไร่บนที่สูง พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ
แนวโน้มที่เกี่ยวโยง 1 : ข้าวโพด บาท/ กิโลกรัม ราคาข้าวโพด ปี ที่มา : สนง.เศรษฐกิจการเกษตร
แนวโน้มที่เกี่ยวโยง 2 : ยางพารา บาท/ กิโลกรัม ราคายางพารา ปี ที่มา : สนง.เศรษฐกิจการเกษตร
แนวโน้มที่เกี่ยวโยง 3 : ยากำจัดศัตรูพืชและสัตว์ ล้านบาท ปริมาณนำเข้ายากำจัดศัตรูพืชและสัตว์ ปี ที่มา : กระทรวงพาณิชย์
รวมแนวโน้มที่เกี่ยวโยง 1+2+3 จำนวนพื้นที่ (ล้านไร่) 2537 2547 ป่าไม้ 2551 2556 1. ข้าวโพด 2. ยางพารา 3. ยากำจัดศัตรูพืชและสัตว์
พื้นที่ของจังหวัดน่าน 7.6 ล้านไร่ แยกตามอำเภอ 1. เฉลิมพระเกียรติ 2. เชียงกลาง 3. ท่าวังผา 4. ทุ่งช้าง 5. นาน้อย 6. นาหมื่น 7. บ่อเกลือ 8. บ้านหลวง 9. ปัว 10. ภูเพียง 11. เมืองน่าน 12. แม่จริม 13. เวียงสา 14. สองแคว 15. สันติสุข รวม จำนวนตำบล 2 6 10 4 7 12 11 5 17 3 99 พื้นที่ (ไร่) 383,064.78 199,632.14 469,897.31 411,408.67 804,489.34 520,324.14 539,673.79 291,797.70 572,787.11 284,402.37 598,243.06 615,925.64 1,358,522.21 350,633.67 250,783.99 7,651,585.93
พื้นที่ป่าไม้ของจังหวัดน่าน ปี 2556 พื้นที่เขตป่าสงวน แห่งชาติ (ไร่) พื้นที่ปลูกพืชไร่บนที่สูงในเขตป่าสงวนแห่งชาติ (ไร่) เหลือพื้นที่ ป่าไม้ (ไร่) อำเภอ พื้นที่ (ไร่) 1. เฉลิมพระเกียรติ 2. เชียงกลาง 3. ท่าวังผา 4. ทุ่งช้าง 5. นาน้อย 6. นาหมื่น 7. บ่อเกลือ 8. บ้านหลวง 9. ปัว 10. ภูเพียง 11. เมืองน่าน 12. แม่จริม 13. เวียงสา 14. สองแคว 15. สันติสุข รวม 383,064.78 199,632.14 469,897.31 411,408.67 804,489.34 520,324.14 539,673.79 291,797.70 572,787.11 284,402.37 598,243.06 615,925.64 1,358,522.21 350,633.67 250,783.99 7,651,585.93 362,824.61 140,260.40 307,084.66 362,625.66 754,636.59 511,071.72 476,404.67 278,574.43 452,543.84 186,179.17 415,051.86 598,579.29 1,079,713.61 274,422.88 235,818.75 6,435,792.16 91,106.91 23,964.69 116,023.90 64,518.73 163,890.10 68,111.63 99,932.48 44,988.57 126,685.95 66,897.96 136,613.81 116,828.85 265,998.61 68,859.99 89,097.18 1,543,519.36 271,717.70 116,295.71 191,060.76 298,106.93 590,746.49 442,960.09 376,472.19 233,585.86 325,857.89 119,281.21 278,438.05 481,750.44 813,715.00 205,562.89 146,721.57 4,892,272.80
พื้นที่ป่าไม้ของอำเภอสันติสุข พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ 235,819 ไร่ พื้นที่ปลูกพืชไร่บนที่สูงในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ 89,097 ไร่ คงเหลือพื้นที่ป่าไม้ 146,721 ไร่ พื้นที่ปลูกพืชไร่บนที่สูง พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ พื้นที่นอกป่าสงวนแห่งชาติ กิโลเมตร
พื้นที่ป่าไม้ของอำเภอสันติสุข พื้นที่เขตป่าสงวนแห่งชาติ (ไร่) พื้นที่ปลูกพืชไร่บน ที่สูงในเขตป่าสงวนแห่งชาติ (ไร่) พื้นที่ป่าไม้ ที่เหลือ (ไร่) ตำบล 1. พงษ์ 2. ดู่พงษ์ 3. ป่าแลวหลวง รวม 82,702.04 40,721.14 112,395.57 235,818.75 24,043.73 21,689.85 43,363.69 89,097.27 58,658.31 19,031.29 69,031.88 146,721.48
ประเด็นยุทธศาสตร์การแก้ไข
1. ติดตามผลการฟื้นฟูและรักษาป่า เชิงคณิตศาสตร์เป็นรายปี ด้วย ดาวเทียมไทยโชต
2. กำหนดหน่วยรับผิดชอบเป็นตำบล นายก อบต. กำนัน ประธานสภาองค์กรชุมชน
3. สรรหาองค์กร หน่วยงาน ที่มีความรู้ จำเพาะไปสนับสนุน - บริหารดิน - น้ำ - พันธุกรรมศาสตร์ - การตลาดกับสากล - การจัดการสังคมท้องถิ่น
บริบทแห่งชุมชน - ภูมิปัญญาท้องถิ่น - นโยบายการกระจายอำนาจ - ยั่งยืนสู่เยาวชน