งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "งานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 งานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย ประชุม กวป. วันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๗

2 1.สรุปผลการดำเนินการปลูกสมุนไพรรางจืด/ตะไคร้หอม ในหน่วยบริการ ปี 2557

3 สรุปผลการดำเนินงานการปลูกสมุนไพรรางจืด ปี 2557
สรุปผลการดำเนินงานการปลูกสมุนไพรรางจืด ปี 2557 อำเภอ ร้อยละการปลูกรางจืดในกลุ่มต่างๆ 1) หน่วยบริการ 2) วัด 3) โรงเรียน 4) อสม. 5) บ้านประชาชน อ.เมืองเลย 100% 89.23 89.19 86.74 24.63 อ.นาด้วง 78.13 84.21 100.00 5.37 อ.เชียงคาน 92.55 97.30 83.11 23.69 อ.ปากชม 83.33 97.22 61.67 อ.ด่านซ้าย 96.77 95.38 23.73 อ.นาแห้ว 75.00 55.38 อ.ภูเรือ 89.83 96.55 31.55 อ.ท่าลี่ 67.50 79.31 91.31 47.20 อ.วังสะพุง 57.93 74.63 51.07 อ.ภูกระดึง 88.14 85.71 69.42 อ.ภูหลวง 84.91 94.44 31.60 อ.ผาขาว 87.76 93.10 74.79 อ.เอราวัณ 89.80 86.96 96.68 35.92 อ.หนองหิน 82.22 90.48 96.97 47.48 รวมจังหวัดเลย 82.08 89.47 95.66 38.66 (ข้อมูล ณ ก.ย. 57)

4 สรุปผลการดำเนินงานการปลูกสมุนไพรตะไคร้หอม ปี 2557
อำเภอ ร้อยละการปลูกตะไคร้หอมในกลุ่มต่างๆ 1) หน่วยบริการ 2) วัด 3) โรงเรียน 4) อสม. 5) บ้านประชาชน อ.เมืองเลย 100% 89.23 91.89 88.36 30.08 อ.นาด้วง 79.69 84.21 100.00 5.60 อ.เชียงคาน 92.55 97.30 83.11 26.43 อ.ปากชม 80.56 94.44 91.06 59.80 อ.ด่านซ้าย 96.77 95.38 27.18 อ.นาแห้ว 75.00 55.38 อ.ภูเรือ 89.83 96.55 31.73 อ.ท่าลี่ 65.00 79.31 91.31 47.20 อ.วังสะพุง 50.00 70.15 99.59 53.09 อ.ภูกระดึง 84.75 78.57 64.26 อ.ภูหลวง 77.36 87.17 30.17 อ.ผาขาว 83.67 93.10 69.45 อ.เอราวัณ 77.55 82.61 83.52 36.04 อ.หนองหิน 93.33 90.48 96.97 47.72 รวมจังหวัดเลย 79.68 88.66 94.00 39.69 (ข้อมูล ณ ก.ย. 57)

5 ปัญหาและอุปสรรค -การปลูกยังไม่ครอบคลุม ในครัวเรือน อสม., วัด ,
โรงเรียน , ครัวเรือน - ประชาชนบางส่วนยังไม่มีความรู้หรือยังไม่เข้าใจในคุณประโยชน์และการนำไปใช้ - จากการสุ่มตรวจหมู่บ้านสุขภาพดีโดยใช้แบบสอบถาม คะแนนเต็ม 5 คะแนนสูงสุด =   คะแนนตำสุด = 1.54 คะแนนเฉลี่ย 14 อำเภอ = 2.23

6 2. สรุปผลงานแพทย์แผนไทยตามตัวชี้วัด
ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ที่ได้มาตรฐาน (เป้าหมายร้อยละ 16 ) แหล่งข้อมูล ผลการดำเนินงาน รวมทั้งจังหวัด แยกระดับหน่วยบริการ รพท. รพช. รพ.สต. 1.รายงานเอกสาร 17.34 5.46 9.41 27.27 2.รายงาน COCKPIT 13.36  5.76 9.56   19.65

7 ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
ที่ได้มาตรฐาน (เป้าหมายร้อยละ 16 ) (แยกรายอำเภอ) (ร้อยละ 16)

8 ปัญหาและอุปสรรค ผลงานภาพรวมตามตัวชี้วัด จากรายงาน COCKPIT มีผลงานต่ำ
กว่ารายงานเอกสารประจำเดือน ปัญหาการบันทึกข้อมูลบริการแพทย์แผนไทย/แพทย์ทางเลือก ใน hos-xp , hos-xp pcu บางแห่ง - บันทึกไม่สมบูรณ์ - ไม่บันทึกผลงาน เช่น การสอนให้ความรู้สมุนไพร ฤาษีดัดตน สมาธิบำบัด ฯลฯ การลืมตรวจสอบข้อมูลบริการ ฯ หน้า web สสจ. และ ใน COCKPIT

9 จากยาสามัญประจำป่า กลับคืนมาสู่สังคม ”
“ สมุนไพรไทย มีคุณค่า จากยาสามัญประจำป่า กลับคืนมาสู่สังคม ” สวัสดี

10 สรุปการใช้ยาสมุนไพรและการผลิตยาสมุนไพร เพื่อใช้ในหน่วยบริการจังหวัดเลย ปี ๒๕๕๗

11 ส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพร ในหน่วยบริการและในชุมชน
ส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพร ในหน่วยบริการและในชุมชน

12 สถานการณ์การใช้ยาสมุนไพร ปี ๒๕๕๗
ข้อมูล ณ ๘ สิงหาคม ๒๕๕๗

13 ปริมาณการสั่งใช้ยาสมุนไพรในหน่วยบริการ ปี ๒๕๕๗ ที่ใช้มากที่สุด ๕ อันดับ

14 รพร.ด่านซ้าย เป็นหน่วย ผลิตยาสมุนไพร

15

16 1 ชาชงรางจืด

17 2 ชาชงหญ้าหนวดแมว

18 3 ชาชงหญ้าดอกขาว

19 4 กลีเซอรีนเสลดพังพอน

20 5 ทิงเจอร์เสลดพังพอน

21 6 น้ำมันไพล

22 ผลิตยาสมุนไพรเพื่อใช้ในหน่วยบริการจังหวัดเลย ปี ๒๕๕๗
ลำดับ หน่วยงาน CUP มูลค่ายาสมุนไพรที่ได้จัดสรรไปแล้ว มูลค่ายาคงเหลือ (บาท) มูลค่ายาครั้งที่ 1 (บาท) มูลค่ายาครั้งที่ 2 (บาท) รอจัดสรรในเดือน พ.ย. 57 1 เมือง* (21) 43,620 74,920 91,460 2 เชียงคาน (15) 21,250 59,010 69,740 3 ปากชม (11) 24,420 50,250 35,330 4 ด่านซ้าย (14) 28,710 22,070 89,220 5 นาแห้ว (6) 15,210 21,470 23,320 6 ท่าลี่ (10i) 27,120 40,940 31,940 7 ภูเรือ (7) 12,910 27,380 29,710 8 วังสะพุง (18) 28,620 67,120 84,260 9 ภูกระดึง (6+5) 15,310 59,610 35,080 10 นาด้วง (6) 14,910 4,150 11 ภูหลวง (6) 12,710 6,350 12 ผาขาว (7) 19,510 9,550 13 เอราวัณ (9) 18,110 30,950 14 รพ.หนองหิน รวม 282,410 586,530 541,060

23 ปัญหาและอุปสรรค ๑. รายการยาสมุนไพรในหน่วยบริการบางแห่งยังไม่ครบตามเกณฑ์มาตรฐาน (รพ. ≥ 20 รายการ, รพ.สต. ≥ 10 รายการ) ๒. มียาสมุนไพรในหน่วยบริการเพื่อให้บริการประชาชนไม่เพียงพอและ ต่อเนื่อง (รพ.สต. อยากให้สนับสนุนยาสมุนไพรไทยให้มีใช้อย่างต่อเนื่อง และครอบคลุมทุกโรค) ๓. ผลงานด้านวิจัยสนับสนุนค่อนข้างน้อยเมื่อเทียบกับยาแผนปัจจุบัน ทำให้ผู้สั่งใช้ยาสมุนไพรและผู้ใช้ยา ยังไม่มั่นใจใน efficacy/Toxicity ของยา

24 ข้อเสนอแนะ สนับสนุนให้ความรู้แก่แพทย์แผนปัจจุบัน/สหสาขาวิชาชีพให้มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องสมุนไพรและยาแผนไทย โดยมีข้อมูลด้านวิชาการ สนันสนุนเพื่อให้ผู้สั่งใช้ยาและผู้ใช้ยามีความมั่นใจในการใช้ยาสมุนไพร และยาแผนไทยมากขึ้น ควรมีกรอบยาสมุนไพร และ CPG ที่สามารถรักษาด้วยยาสมุนไพร หรือแพทย์แผนไทย

25

26


ดาวน์โหลด ppt งานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google