งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง ปี 2556/57

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง ปี 2556/57"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง ปี 2556/57
กรมส่งเสริมการเกษตร กองพัฒนาการเกษตรพื้นที่เฉพาะ

2 แผน / ผลการเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง ปี 2556/57
ณ 13 กพ.57 ทั้งประเทศ หน่วย : ล้านไร่ เขตพื้นที่ แผนการเพาะปลูก ปี 56/57 พื้นที่ปลูกจริง ปี 56/57 นาปรัง พืชไร่-ผัก รวม ในเขตชลประทาน 6.74 0.54 7.28 8.82 (130%) 0.44 (81%) 9.26 (127%) นอกเขตชลประทาน 4.08 1.64 5.72 4.48 (109%) 1.19 (72%) 5.67 (99%) 10.82 2.18 13.00 13.30 (122%) 1.63 (74%) 14.93 (114%)

3 ลุ่มน้ำเจ้าพระยา หน่วย : ล้านไร่ 4.74 0.35 5.09 5.87 (202%) (96%) 5.92
ณ 13 กพ. 57 หน่วย : ล้านไร่ เขตพื้นที่ แผนการเพาะปลูก ปี 56/57 พื้นที่ปลูกจริง ปี 56/57 นาปรัง พืชไร่-ผัก รวม ในเขตชลประทาน 2.90 0.05 2.95 5.87 (202%) (96%) 5.92 (200%) นอกเขตชลประทาน 1.84 0.30 2.14 2.83 (153%) 0.24 (79%) 3.07 (143%) 4.74 0.35 5.09 8.70 (183%) 0.29 (81%) 8.99 (176%)

4 การติดตามสถานการณ์การเพาะปลูก
การดำเนินงาน การติดตามสถานการณ์การเพาะปลูก 1. ประสานความร่วมมือกับ Gistda ขอใช้ข้อมูลภาพถ่ายทางอากาศ และจัดทำ web page ระบบติดตามผลฯ แสดงผลการเพาะปลูกพืชฤดูแล้งในเขตลุ่มน้ำเจ้าพระยา 22 จังหวัด ปรับปรุงข้อมูล 2 สัปดาห์/ครั้ง แสดงเป็นแผนที่ และข้อมูลตัวเลขพื้นที่เพาะปลูก เพื่อติดตามสถานการณ์ 2. แจ้งจังหวัดศึกษา และใช้งานระบบติดตามผล ร่วมกับการจัดเก็บข้อมูลพื้นที่เพาะปลูกของเกษตรกร

5

6

7 การป้องกันปัญหา 1.ตั้งแต่เดือน กพ. 57 กรมชลประทานจะระบายน้ำเพื่อสนับสนุนการอุปโภค บริโภค และรักษาระบบนิเวศน์เท่านั้น เพื่อเตรียมการป้องกัน ซึ่งได้แจ้งให้จังหวัดดำเนินการ ดังนี้ 1) ประชุมร่วมกับชลประทานในพื้นที่ เรื่องการบริหารจัดการน้ำ เพื่อลดความเสียหายของพืช 2) ประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรงดปลูกข้าวนาปรัง ครั้งที่ 2 ที่จะเริ่มปลูกในเดือนกุมภาพันธ์เป็นต้นไป 3) ติดตามสถานการณ์และรายงานให้กรมส่งเสริมการเกษตรทราบ

8

9 2. การประชุมเชิงปฏิบัติการ ขับเคลื่อนการดำเนินงานเพื่อลดผลกระทบจากภัยแล้งในเขตพื้นที่เพาะปลูกลุ่มน้ำเจ้าพระยา ปี 2556/57 วันที่ 20 กพ.57 อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร เป็นประธาน ผู้เข้าร่วมประชุม : รองอธิบดีฯ ฝ่ายส่งเสริมและฝึกอบรม รองอธิบดีฯ ฝ่ายวิชาการ ผอ.เขต 1,2,3 และ 9 เกษตรจังหวัด และเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบฤดูแล้ง 22 จังหวัดลุ่มเจ้าพระยา และผู้อำนวยการสำนักชลประทานที่ 3,4,10,11,12,13

10 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อรับทราบสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเพาะปลูก และแนวทางการดำเนินงานส่งเสริมการเพาะปลูกพืชฤดูแล้งของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2. กำหนดแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานเพื่อลดผลกระทบจากภัยแล้งในเขตพื้นที่เพาะปลูกลุ่มน้ำเจ้าพระยา ปี 2556/57

11 การแบ่งกลุ่มอภิปราย การอภิปรายกลุ่ม : “แนวทางการดำเนินงานเพื่อลดพื้นที่การปลูกข้าวนาปรัง” โดยแบ่งผู้ร่วมประชุมออกเป็น 3 กลุ่ม ตามพื้นที่ ดังนี้ กลุ่มที่ 1 พื้นที่ในเขตลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนบน กลุ่มที่ 2 พื้นที่ในเขตลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนล่างฝั่งตะวันตก กลุ่มที่ 3 พื้นที่ในเขตลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนล่างฝั่ง ตะวันออก

12 ประเด็นการอภิปราย ผลการเพาะปลูกใน 3 เดือนที่ผ่านมา
- ข้อเท็จจริงที่ส่งผลให้ปลูกข้าวนาปรังเกินแผน - ประเด็นเรียนรู้กรณีที่ประสบความสำเร็จในการลดพื้นที่ เพาะปลูก ความเป็นไปได้ที่จะไม่ให้มีการปลูกข้าวนาปรังเพิ่มขึ้นในอีก 3 เดือนข้างหน้า มาตรการและแนวทางช่วยเหลือเกษตรกร เช่น การปลูกพืชอายุสั้น การส่งเสริมอาชีพจาก กสก. และ กษ. ส่งผลสัมฤทธิ์หรือไม่ ตัวช่วยที่แท้จริงคืออะไร

13 ประเด็นสั่งการ จังหวัดที่มีการเพาะปลูกข้าวนาปรังเกินจากแผนที่กำหนด ต้องมีเหตุผล หรือสาเหตุว่าเกิดขึ้นเพราะอะไร 2. ตั้งแต่เดือน กพ. ถึง เมย. จังหวัดมีมาตรการอย่างไรในการลดผลกระทบที่จะก่อให้เกิดความเสียหายในการเพาะปลูกให้น้อยที่สุด เช่น ทำอย่างไรไม่ให้เพาะปลูกเพิ่ม หรือ ปลูกแล้วทำอย่างไรไม่ให้เสียหาย

14 จบการนำเสนอ


ดาวน์โหลด ppt การเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง ปี 2556/57

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google