นางเบญจมาศ พักตร์ฉัตร์ทัน กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้วิจัย อาจารย์เรวดี นาวินวิจิต
Advertisements

พัฒนศักดิ์ จิณะวงค์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
ผู้วิจัย นางนันทา สุพจน์เฉลิมขวัญ
วิจัยเรื่อง “ผลการจัดการเรียนรู้รายวิชา คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 เรื่อง ความน่าจะเป็นโดยใช้เทคนิคร่วมกันคิด” โดย นางสาวนิภาพร วิริยะประกอบ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ผู้วิจัย : นายสุพัฒน์ กลัดสมบุญ
การพัฒนาการเรียนการสอน ในรายวิชา หลักการออกแบบกราฟิก แผนกคอมพิวเตอร์กราฟิก โดยใช้เกมโลโก้ อิเล็กทรอนิกส์ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 นายธนาลักษณ์
การใช้เกมการศึกษาในการพัฒนาทักษะการจดจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 2 สาขายานยนต์ (ชย.2101) วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Brain- Based Learning ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3/1 สาขาการขาย.
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรูปแบบการจำลอง การอ่านค่าเวอร์เนียคาลิปเปอร์ วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น ระดับชั้น ปวช.1.
ผู้วิจัย นางสาวมัตติกา ขวัญใจ วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 2 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ ผู้วิจัย ถาวร ประรงค์ทอง.
นายภิรักษ์ คำศรี ชื่อผลงานวิจัย : ชื่อผู้วิจัย :
สมาคมโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย
----- ชื่อเรื่องวิจัย การศึกษาการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดของนักเรียนในรายวิชาคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2.
นางสาวปุณณภา ฉัตรเดชาพล
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ กรุงเทพมหานคร ผู้วิจัย
การพัฒนาความรู้เกี่ยวกับคำศัพท์ภาษาอังกฤษทางด้านการบัญชีของนักศึกษา แผนกการบัญชีด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้โดยแผนการจัดการเรียนรู้ ณัฐเกียรติ ฉิมภู่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ปี 2 ห้อง 1 โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง ศึกษาการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาเศรษฐศาสตร์โดยใช้แบบฝึกทักษะการท่องจำเบื้องต้นของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ผู้วิจัย.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาการวางแผนและควบคุมโดยงบประมาณ ของนักศึกษา ปวส. 1 สาขาการบัญชี โดยชุดการสอน ผู้วิจัย นางนพรัตน์ สุวรรณโณ.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ผลการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนการสอนรูปแบบซิปปา (CIPPA MODEL) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาภาษาอังกฤษสำหรับสถานประกอบการสำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาการเรียนรู้ เรื่อง การวิเคราะห์รายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป วิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติ ของนักเรียน ปวช.1 โรงเรียนเทคนิควิมลบริหารธุรกิจ.
ชื่อเรื่องวิจัย: พัฒนาการของการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ
การพัฒนาทักษะการคำนวณเรื่องระบบเลขฐาน โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา.
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ชื่อเรื่องวิจัย การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้แบบฝึกวิชาภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารในงานอาชีพเรื่อง Present Simple.
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้หนังสืออ่านนอกเวลา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่1 แผนกเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภ์ฯ
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ ของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 โดยใช้สถานการณ์จำลอง กิติพร โกมลารชุน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
นายมงคล ธัญฤชุพงศ์ ผู้วิจัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิธีการสอนแบบกระบวนการเสนอ ด้วยข้อมูลมีความแตกต่าง โดย นางสาวธนภรณ์ นาวินวิจิต วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชล บริหารธุรกิจ (M-BAC)
LOGO การพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนการ สอนในราย วิชาการบัญชีชั้นสูง 1 (3201 – 2004) เรื่องการบันทึกบัญชีที่ไม่สมบูรณ์ ของนักศึกษาระดับ ชั้น ปวส.2 สาขาการบัญชี
โดย ครูวินิญากรณ์ วัตรสติ
วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
โดย นายยิ่งเจริญ บุญยัง
โดย นางสาวราตรี สมความคิด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรี ย่าน.
การใช้แบบฝึกทักษะเกม Spelling Bee เพื่อพัฒนาความสามารถในการสะกด คำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 (ปวช.1) สาขา เทคนิคคอมพิวเตอร์
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
อาจารย์ประจำสาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นายหิรัญญพงษ์ โอวัฒนา โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
โดย อาจารย์ วิลาวัณย์ ลีลารัตน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ จังหวัดระยอง จังหวัดระยอง ชื่อผู้วิจัย / สถาบัน นายวัชรพล พรมโคตร.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
นางจินดาพร พูล สวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการจัดการ สำนักงาน ของ นักศึกษาระดับ ปวส. 1 เรื่อง.
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ประกาศ ศธ. การบริหารจัดการเวลาเรียนภาษาอังกฤษ ชั้น ป. 1-3 ลว. 31 ต. ค
หมวดศึกษาทั่วไป ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ผู้สอน : อ.สำราญ ผลดี
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
นางสาวปัณยตา หมื่นศรี
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
การนำเสนอผลงานการวิจัย
การนำเสนอผลงานวิจัยและนวัตกรรมสื่อการสอนทางอาชีวศึกษา ครั้งที่ 8
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นางเบญจมาศ พักตร์ฉัตร์ทัน กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ด้านการเขียนภาษาอังกฤษ โดยใช้เทคนิคเชื่อมโยงความสัมพันธ์ ระหว่างทักษะการอ่านกับการเขียน(Writing to Read) นางเบญจมาศ พักตร์ฉัตร์ทัน กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศ

ที่มาและความสำคัญของปัญหา *จำนวนผู้เรียน 79 คน ทำ pretest มีผลการทดสอบต่ำกว่า 50% จำนวน 68 คน ผู้เรียนขาดทักษะพื้นฐานด้านการเขียน

วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อพัฒนาทักษะการเขียนของผู้เรียนให้มีผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น

นวัตกรรมที่ใช้ Writing To Read Writing has the theoretical potential for enhancing reading in three ways 1 การอ่านและการเขียนจะสำเร็จตามเป้าหมายต้องเชื่อมโยงกันทั้งสองทักษะ( First, reading and writing are both functional activities that can be combined to accomplish specific goals.) 2 ผู้เรียนที่มีทักษะการเขียนที่ดีจะมีทักษะในการอ่านที่ดีขึ้นด้วย ( Second, reading and writing are connected. Improving students’ s writing skills should result in improved reading skills.) 3 ทั้งการอ่านและการเขียนเป็นกิจกรรมที่ใช้ในการสื่อสาร ผู้เขียนควรจะเข้าใจในการอ่านอย่างถ่องแท้เพื่อเขียนตำราของตนเอง (Third, reading and writing are both communication activities, and writers should gain insight about reading by creating their own texts.)

ตารางเปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน วิชาการเขียนภาษาอังกฤษทางธุรกิจ ภาคเรียนที่ 2/2555 การทดสอบครั้งที่ 1 การทดสอบครั้งที่ 2 ก่อนเรียน หลังเรียน จำนวน 79 คน ผ่าน ไม่ผ่าน 11 68 72 7 45 34 76 3 13.92% 86.08% 91.14% 8.86% 56.96% 43.04% 96.20% 3.80%

การเขียน เป็น เรื่องราว แบบบันทึกคะแนนการฝึกการเขียนโดยใช้เทคนิคเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างการอ่านกับการเขียน(Writing to read) ระดับคะแนนตามเกณฑ์ การเขียน 3 คำศัพท์ และวลี วลีและ ประโยค การเขียน เป็น เรื่องราว การเขียน จดหมาย จำนวนนักเรียน คะแนน 4 15 60 25 100 20 80 22 88 37 111 41 123 42 126 38 114 2 23 46 13 26 16 32 19 1 - รวม 79 221 251 239 240 เต็ม 316 69.94% 79.43% 75.63% 75.95%

ระดับปวช.3/1-3/2 สาขาวิชาภาษาต่างประเทศ การเปรียบเทียบคะแนนกลางภาคและปลายภาคเรียนที่ 2/2555 วิชาการเขียนภาษาอังกฤษทางธุรกิจ ระดับคะแนน ระดับปวช.3/1-3/2 สาขาวิชาภาษาต่างประเทศ กลางภาค ร้อยละ ปลายภาค 18 – 20 1 1%* 6 7.59% 15 – 17 10 12%* 7 8.86% 12 – 14 4 5%* 12 15.19% 9 – 11 15 18.99%* 32 40.51% 6 – 8 20 25.31% 12% 3 - 5 19 24.05% 0-2 12.66% 5 6.32% 79 ผู้เรียนผ่านเกณฑ์ * 37% พัฒนา 73% จำนวนผู้เรียนพัฒนาผลสัมฤทธิ์เพิ่มขึ้น 73% - 37% = 36% หลังจากมีการฝึกการเขียนโดยใช้เทคนิคเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างการอ่านกับการเขียน(Writing to read)

สรุปผลจากการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาการเขียนภาษาอังกฤษทางธุรกิจ โดยใช้เทคนิคเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างทักษะการอ่านกับการเขียน (Writing to Read) หัวข้อ ก่อนใช้ WTR หลังใช้ WTR พัฒนา ผลการทดสอบ 1 ก่อนเรียนผ่าน 13.92% หลังเรียนผ่าน 91.13% เพิ่มขึ้น 72.21% ผลการทดสอบ 2 ก่อนเรียนผ่าน 56.96% หลังเรียนผ่าน 96.20% เพิ่มขึ้น 39.24% การทำแบบฝึกหัด - เต็ม 20 เฉลี่ยได้ 12 60% การฝึกกิจกรรม WTR ระดับคะแนน 69%-79% (2.7-3.18) การสอบวัดผลสัมฤทธิ์ กลางภาคผ่าน 37% ปลายภาคผ่าน 73% เพิ่มขึ้น 36%

ข้อเสนอแนะ *การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ด้านการเขียนภาษาอังกฤษโดยใช้เทคนิคเชื่อมโยงความสัมพันธ์ ระหว่างทักษะการอ่านกับการเขียน(Writing to Read) ใช้ได้ผลดีกับนักเรียนสาขาภาษาต่างประเทศมากกว่าสาขาอื่น ๆ *ควรมีการกระตุ้นผู้เรียนด้วยสิ่งเร้าต่าง ๆ เช่น การให้คะแนน การติชม การอ่านเรื่องราวที่สนุกสนาน การเขียนโดยให้ผู้เรียนใช้สื่อICT การใช้กระบวนการเขียนโต้ตอบทาง e-mail และการใช้กระบวนการกลุ่ม เป็นต้น *ควรฝึกเป็นประจำและต่อเนื่องในทุก ๆสัปดาห์ *การกำหนดระยะเวลาในการฝึกแต่ละเรื่องขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้เรียนว่าพัฒนาได้เร็วเพียงไร โดยเริ่มจาก คำ วลี ประโยคและเรื่องราว