งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด
ศึกษาปัญหาและแนวทางพัฒนาการอ่านสารในชีวิตประจำวัน วิชาภาษาไทยพื้นฐาน โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2558 ผู้วิจัย วิไลวรรณ อนันตะบุศย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด

2 วัตถุประสงค์การวิจัย
1. เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านสารในชีวิตประจำวัน ในวิชาภาษาไทยพื้นฐานโดยใช้แบบฝึกทักษะ ของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 1 2. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการ พัฒนาทักษะการอ่านสารในชีวิตประจำวัน 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่ใช้แบบ ฝึกทักษะ

3 กรอบแนวคิดในการวิจัย
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการอ่านสารในชีวิตประจำวัน การจัดกิจกรรมการเรียนด้วย แบบฝึกทักษะการอ่านสาร ในชีวิตประจำวัน ผลความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการเรียนด้วยแบบฝึกทักษะการอ่านสารในชีวิตประจำวัน

4 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 ห้อง 1 วิทยาลัย เทคโนโลยีพณิชยการพลาญชัยร้อยเอ็ด จำนวน 8 คน ที่ กำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558

5 วิธีดำเนินการวิจัยและเก็บรวบรวมข้อมูล
ในการดำเนินการวิจัยและเก็บรวบรวมข้อมูล มีขั้นตอน ดังนี้ 1. ทำการเลือกกลุ่มตัวอย่าง จากนักศึกษาที่กำลัง เรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 ด้วยวิธีการสุ่ม แบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling)โดยใช้ห้องเรียนเป็น หน่วยในการสุ่มได้นักศึกษาห้อง 1/1 จำนวน 8 คน เป็นกลุ่ม ตัวอย่าง 2. ทำการทดสอบวัดสัมฤทธิ์ก่อนเรียน โดยให้ นักศึกษากลุ่มตัวอย่างทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อน เรียน เรื่องการอ่านสารในชีวิตประจำวัน และรวบรวมข้อมูล

6 3. ผู้สอน ดำเนินการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 2 สัปดาห์ โดยให้นักศึกษากลุ่มตัวอย่าง ทั้ง 8 คน เรียนและให้ทำแบบฝึกทักษะการอ่านสารในชีวิตประจำวัน เป็นเวลา 4 คาบ คาบละ 1 ชั่วโมง 4. เมื่อนักศึกษาเรียนจบแล้ว ทำการทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์หลังเรียนทันที โดยให้ทำแบบทดสอบวัดผล สัมฤทธิ์หลังเรียนด้วยข้อสอบชุดเดียวกันกับก่อนเรียน แล้ว เก็บข้อมูลเพื่อนำไปวิเคราะห์ 5. ทำการวัดความพึงพอใจของนักศึกษากลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้แบบฝึกทักษะการอ่านสารในชีวิตประจำวัน 6. นำข้อมูลที่ได้วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย โปรแกรม Excel

7 ภาพหลักฐานการสอน/การเก็บข้อมูล

8 ผลวิเคราะห์ข้อมูล 1. ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการอ่านสารใน ชีวิตประจำวันเป็นไปตาม ค่าแบบทดสอบก่อนเรียน ได้เท่ากับ และ แบบทดสอบหลังเรียน ได้เท่ากับ ค่าเฉลี่ยก่อนเรียนได้เท่ากับ หลังเรียน ได้เท่ากับ ผลการวิเคราะห์พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลัง เรียนด้วยการใช้แบบฝึกทักษะสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี นัยสำคัญในสถิตที่ระดับ .05

9 สรุปผลการวิจัย 1. การสร้างและการหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะเรื่องการ อ่านสารในชีวิตประจำวัน ในวิชาภาษาไทยพื้นฐาน พบว่าแบบ ฝึกทักษะมีความเหมาะสม ซึ่งมีค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) อยู่ระหว่าง 0.60 – 1.00 และจากการนำแบบฝึกทักษะเรื่องการอ่านสาร ในชีวิตประจำวัน ไปทดลองใช้กับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 จำนวน 8 คน ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ พบว่าแบบฝึกทักษะมีประสิทธิภาพ 81.13/87.00 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 2. การทดลองสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะเรื่องการอ่านสารใน ชีวิตประจำวัน พบว่า 2.1 นักศึกษามีคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับ คะแนนเฉลี่ยหลังเรียน เท่ากับ และเมื่อเปรียบเทียบความ แตกต่างของค่าเฉลี่ย พบว่า นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากโดยมีค่าเฉลี่ย (X) เท่ากับ 4.17 มีค่า S.D. เท่ากับ 0.66

10 ขอขอบคุณ ผู้อำนวยการตะวัน ดอกบัว วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการพลาญชัย ร้อยเอ็ด ผู้ช่วยร่วมการวิจัยและเสนอแนะในการทำวิจัยให้สำเร็จให้ลุล่วงในครั้งนี้ ผู้อำนวยการนธภร แจ่มใส โรงเรียนอาเซียนศึกษา ที่ให้คำแนะนำทำให้การทำวิจัยในครั้งนี้ สำเร็จไปได้ด้วยดี


ดาวน์โหลด ppt วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google