งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ตามฐานสมรรถนะวิชาชีพอาชีวศึกษา วิชา การใช้โปรแกรมกราฟิกเพื่อพัฒนาเว็บเพจ ร่วมกับวิธีสอนแบบใช้โครงงานเป็นฐาน โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี

2 ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา

3 วัตถุประสงค์การวิจัย
1. เพื่อพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่พัฒนาขึ้น 2. เพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่พัฒนาขึ้น 3.เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา ที่เรียนก่อนและหลังด้วยบทเรียนที่พัฒนาขึ้น เพื่อหาความพึงพอใจของผู้เรียนที่เรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่พัฒนาขึ้น

4 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มประชากร นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวีชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 1สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 2 ห้อง รวม 53 คน กลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวีชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 1สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 30 คน คัดเลือกโดยใช้การสุ่มด้วยวิธีการจับฉลากเลือกห้องเรียนได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 30 คน

5 ขั้นตอนการดำเนินงาน ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง การกำหนดแบบแผนการทดลอง

6 ขั้นตอนการดำเนินงาน สร้างเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย
Analysis Design Developmen t Implementat ion Evaluation แสดงขั้นตอนการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนตามฐานสมรรถนะวิชาชีพอาชีวศึกษา ร่วมกับวิธีสอนแบบใช้โครงงานเป็นฐาน ด้วยกระบวนการออกแบบระบบการเรียนการสอนแบบ ADDIE Model

7 ผลการดำเนินงาน

8 ผลการดำเนินงาน จากตารางที่ 4-1 พบว่าประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนงานที่ 1 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ งานที่ 2 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ งานที่ 3 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ งานที่ 4 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ งานที่ 5 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ แบบฝึกหัดท้ายบทเรียนมีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 87.50แบบทดสอบหลังเรียนมีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 80.83

9 ผลการดำเนินงาน จากตารางที่ 4-2 เมื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยค่าที (t-test) พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนหลังเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่พัฒนาขึ้นสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ .05

10 ผลการดำเนินงาน จากตารางที่ 4-3 พบว่าคุณภาพของโครงงานของผู้เรียนที่จัดทำขึ้นด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ในการเรียนการสอน แบ่งออกเป็น 3 ด้านได้แก่ ความสามารถในการปฏิบัติงานมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.33 คุณภาพของงานมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.40 เจตคติ (กิจนิสัย) มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.06 ซึ่งคะแนนเฉลี่ยรวมทั้ง 3 ด้าน เท่ากับ สรุปได้ว่าคุณภาพของโครงงานของผู้เรียนที่จัดทำขึ้นอยู่ในระดับคุณภาพดี

11 การดำเนินการทดลองและรวบรวมข้อมูล

12 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนตามฐานสมรรถนะวิชาชีพอาชีวศึกษา วิชา การใช้โปรแกรมกราฟิกเพื่อพัฒนาเว็บเพจ ร่วมกับวิธีสอนแบบใช้โครงงานเป็นฐาน จากการนำบทเรียนผ่านการประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาและการประเมินด้านเทคนิควิธีการ ด้านละ 3 ท่านมีผลดังนี้ การประเมินเนื้อหามีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4 อยู่ในระดับดีมาก และการประเมินจาก ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคนิคมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4 อยู่ในระดับดี

13 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
การหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนตามฐานสมรรถนะวิชาชีพอาชีวศึกษา วิชา การใช้โปรแกรมกราฟิกเพื่อพัฒนาเว็บเพจ ร่วมกับวิธีสอนแบบใช้โครงงานเป็นฐาน ได้ผลดังนี้ ประสิทธิภาพของบทเรียนจากการทำแบบทดสอบท้ายบทเรียนเท่ากับ และแบบทดสอบหลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ เปรียบเทียบประสิทธิภาพ ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่พัฒนาขึ้น พบว่ามี คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 87.50/80.83 สูงกว่าเกณฑ์ ประสิทธิภาพ 80/80 ที่กำหนดไว้

14 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่พัฒนาขึ้น พบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนด้วย บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่พัฒนาขึ้น สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ .05

15 ข้อเสนอแนะ 5.3.1 ข้อเสนอแนะจากการวิจัยครั้งนี้
ด้านการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ควรมีการออกแบบให้มีระบบปฏิสัมพันธ์และควรเน้นการฝึกปฏิบัติโดยใช้แบบฝึกปฏิบัติ เพื่อสร้างทักษะในการปฏิบัติ ความรู้ ความเข้าใจและความน่าสนใจในตัวบทเรียน เนื่องจากผู้เรียนแต่ละคนมีความแตกต่างในการเรียนรู้ที่ไม่เท่ากัน ควรเพิ่มเสียงบรรยายในส่วนของเนื้อหาเพื่อเพิ่มความเข้าใจและความน่าสนใจในการเรียนมากยิ่งขึ้น 5.3.2 ข้อเสนอแนะสำหรับการทำวิจัยครั้งต่อไป ควรจะมีการเพิ่มระยะเวลาในการเรียนเพื่อให้ผู้เรียน ได้ทำความเข้าใจเกี่ยวกับขั้นตอนการเรียนรู้และกิจกรรมต่าง ๆ


ดาวน์โหลด ppt โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google