นางสาวธาราวรรณ เที่ยงดี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ชื่อเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความ คงทนในการเรียนรู้เรื่องความรู้เกี่ยวกับแผนธุรกิจ ( Business Plan ) วิชาการดำเนินธุรกิจขนาดย่อมรหัส.
Advertisements

แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางพรพรรณ สนทอง โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาบุคลิกภาพโดยใช้แบบฝึกปฏิบัติของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1-3 ( ปวช.1-3 )สาขาวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
ผู้วิจัย นางสาวจินตนา เชื้อเมืองพาน
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
ชื่อผู้วิจัย : นางสาวพรธนา ช่วยตั้ง
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
นางสาวกานณภา ทองเกิด สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สมการกำลังสอง
“ การพัฒนาทักษะการออกแบบและประกอบวงจรใช้
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
ผู้วิจัย อาจารย์เกษร วุฒิสินธ์
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
โรงเรียนระยองพาณิชยการ ผู้วิจัย นางประนอม ยางสง่า
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผลงานวิจัยเรื่อง “การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาธุรกิจทั่วไป เรื่องรูปแบบขององค์กรธุรกิจของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจโดยใช้ชุดการสอนแบบศูนย์การเรียน.
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลอง วิชาการขาย 2 เรื่องกระบวนการขายของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้เรียนชั้นปวช.1
นางสาวมัทนา เครือแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย อาจารย์ธนพร ผ่อนวัฒนา
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย โดยจัดกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ ด้วยวิธี STAD ของนักเรียน 501 สาขางานการบัญชี
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
นางปิยนุช พงษ์เศวต โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
การทดลองใช้เอกสารประกอบการเรียน ในวิชาบัญชีเบื้องต้น 2
วิทยาลัยเทคโนโลยีนีรชาบริหารธุรกิจ วิจัยการเรียนการสอน
ผู้วิจัย จุฬารัตน์ มหาชัย
ผู้วิจัย อาจารย์ภารดี เนติเจียม
นางสาวนันท์นภัส นาราช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่อง ความคิดเห็นที่มีต่อการเรียนการ สอน สาขาวิชาการจัดการทั่วไป ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางเยาวลักษณ์ อา ลักษณสุวรรณ.

วิจัยในชั้นเรียน ผลการใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อแก้ไขพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ในรายวิชาช่างอุตสาหกรรม แผนก ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นางสาวธาราวรรณ เที่ยงดี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ ผลงานวิจัยพัฒนาด้านการเรียนการสอน การพัฒนายกระดับผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาการบัญชีเบื้องต้น 2 โดยสร้างชุดการสอนสำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 (พ.1/1) นางสาวธาราวรรณ เที่ยงดี ครูปฏิบัติการสอนสาขางานการบัญชี

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา การจัดทำบัญชีเป็นการให้ข้อมูลกับผู้เกี่ยวข้องได้ทราบความเป็นไปของธุรกิจ อีกทั้ง เป็นข้อมูลสำคัญในการตัดสินปัญหาของธุรกิจ เช่น เจ้าของกิจการตัดสินใจว่าจะดำเนินธุรกิจต่อไป หรือไม่ เจ้าหนี้ตัดสินใจว่าจะให้สินเชื่อหรือไม่ หน่วยราชการใช้ข้อมูลในการดำเนินการจัดเก็บภาษี เป็นต้น ดังนั้นข้อมูลทางการ บัญชีต้องเป็นข้อมูลที่มี คุณภาพ เชื่อถือได้ ทันต่อเหตุการณ์และเพียงพอต่อการตัดสินใจของผู้ที่ เกี่ยวข้อง

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อสร้างชุดการสอนสำหรับพัฒนายกระดับผลสัมฤทธิ์ในการเรียน วิชาบัญชีเบื้องต้น 2 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (พ.1/1) 2. เพื่อศึกษาประสิทธิผลของชุดการสอน วิชาบัญชีเบื้องต้น 2 ในด้านผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาการบัญชีเบื้องต้น 3. เพื่อศึกษาความสนใจในการเรียนวิชาการบัญชีเบื้องต้น 2 จากการสอนโดยใช้ชุดการสอนที่สร้างขึ้นจากการสอนโดยใช้ชุดการสอน วิชา บัญชีเบื้องต้น 2 ประเภทวิชาพณิชยกรรม

กรอบแนวคิดการวิจัย

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1. หลักสูตรรายวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 2. ชุดการสอน 3. รูปแบบการสอน

ประชากรสำหรับการวิจัย ประชากรที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประเภทวิชาพณิชยกรรม สาขาการบัญชี นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประเภทวิชา พณิชยกรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี ที่ ลงทะเบียนเรียน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 ห้อง ปวช. พ.1/1 จำนวน 40 คน

ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 3.1 ตัวแปรต้น ได้แก่ ชุดการสอน วิชาบัญชีเบื้องต้น 2 ที่สร้างขึ้น 3.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ ประสิทธิผลของชุดการสอน วิชาบัญชีเบื้องต้น 2 ได้แก่ 3.2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาบัญชีเบื้องต้น 2 3.2.2 ความสนใจในการเรียนจากการสอน โดยใช้ชุดการสอน วิชา บัญชีเบื้องต้น 2

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย มี 2 ชนิด ได้แก่ 1. เครื่องมือทดลอง ได้แก่ 1.1 ชุดการสอน วิชาบัญชีเบื้องต้น 2 1.2 แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดการสอน 2. เครื่องมือรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 2.1 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2.2 แบบวัดความสนใจในการเรียนจากการใช้ชุดการสอน

สรุปผล 1. ประสิทธิภาพของชุดการสอนเชิงทดลอง วิชาบัญชีเบื้องต้น 2 ประเภท วิชาพณิชยกรรม ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพเป็น 80.13/80.27 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาบัญชีเบื้องต้น 2 ประเภทวิชาพณิชยกรรม ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ หลังการเรียนด้วยชุดการสอนเชิงทดลอง อยู่ในระดับ ดี 3. ความสนใจในการเรียน จากการเรียนด้วยชุดการสอน วิชา บัญชีเบื้องต้น 2 ประเภทวิชาพณิชยกรรม ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ อยู่ในระดับ มาก

ข้อเสนอแนะ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประเภทวิชาพณิชยกรรม มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 และความสนใจในการเรียน รายวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 ดีขึ้น เป็นผลให้เป็นแรง เสริมให้นักเรียนแสวงหาความ รู้เพิ่มเติม มีความรู้เพิ่มขึ้นเป็นกิจนิสัย นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนสูงขึ้น และจบหลักสูตรตามเวลาที่กำหนด มีผลทางอ้อมให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องสูงขึ้น และมีผลให้นักเรียนจบหลักสูตรตามเป้าหมายที่โรงเรียนกำหนดไว้