กลุ่มที่ 15 กลุ่ม ลูกน้ำเค็ม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามกุฎราชกุมาร นางลาวัลย์ ฉัตรวิรุฬห์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตร.
Advertisements

ผลการสัมมนากลุ่มย่อย
โครงการเทียบเท่าผลผลิต ประจำปีงบประมาณ 2550
การถ่ายโอนภารกิจให้องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
กลุ่มที่ 1.
โครงการส่งเสริมการปลูกปาล์มน้ำมันพันธุ์ดี
โครงการ ลำไยสีทองล้านนา
กลุ่มที่ 16 ชื่อกลุ่ม ทวารวดี
สองเล TWOSEAS.
โครงการส่งเสริมการผลิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการผักปลอดภัยฯบันไดสู่ครัวโลก
กลุ่มที่ 1 เจริญบุรี จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดอำนาจเจริญ
กลุ่ม เก็บตะวัน กลุ่มที่ 5 กาญจนบุรี สมุทรสงคราม
กลุ่มที่ 13 มะขามทอง C.R.P. จังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา
จ.พะเยา จ.พิจิตร จ.พิษณุโลก จ.เพชรบูรณ์ จ.แพร่ จ.สุโขทัย จ.อุตรดิตถ์
กลุ่มที่ 7 บัวอุบล จังหวัดอุบลราชธานี สมาชิก 22 คน.
โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวปลอดภัย
กลุ่มที่ 16 ชื่อกลุ่ม สักงาม
แดนดอกลำดวน จังหวัดศรีสะเกษ.
โครงการ ส่งเสริมการผลิตข้าว ที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
กลุ่มสระปทุมสมุทรลพบุรี
โครงการ ส่งเสริมการผลิตข้าว ที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
กลุ่มลำปางหนา จังหวัดลำปาง กลุ่มที่ 14
กลุ่มที่ 7 ไก่บูรพา วิทยากร อ.พลภัทร วารี ผู้ช่วยวิทยากรสมชาย ชะฎาดำ.
สมาชิกกลุ่ม 6.
กลุ่ม ก.ส.น. จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดนนทบุรี
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
กลุ่มที่ 6 กลุ่ม วังบัว บาน จังหวัด เชียงใหม่ (1-26)
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายเพิ่มพูน มาประกอบ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายอามะ แวดราแม
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 1 ดอกแก้วภูพาน จ. สกลนคร จ. สุรินทร์ จ. หนองคาย จ. หนองบัวลำภู จ. อุดรธานี
นำเสนอโดย : นายเสน่ห์ แสงคำ
กลุ่มที่1 กลุ่ม ส้มสามหมอก
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
โครงการพัฒนาระบบการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
กิจกรรมเด่น ประจำเดือน สิงหาคม 2554
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
กลุ่มที่ 4 กลุ่มเฟื่องฟ้า
จังหวัดยโสธร เลย หนองคาย
กลุ่มที่ 15 กลุ่ม อ่าวสวยทะเลใส
นำเสนอโดย : นางสาวสุกัญญา เกิดกอง
กลุ่มที่ 11 กลุ่ม ศรีวิชัย
วิทยากร อ.นิภารัตน์ รัตโนภาส ผู้ช่วยวิทยากร นายปิยะพงศ์ เบาโพธิ์
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
นำเสนอโดย : นางนันทิยา วาสุกรี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
จังหวัดเชียงใหม่ ลำปาง
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายมะหะหมัด โต๊ะยะลา
จังหวัดตาก ( ๑ - ๑๗ ), จังหวัด อุตรดิตถ์ ( ๑ - ๘ )
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าข่าเหลือง
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลและ อำเภอทุ่ง ช้าง จังหวัดน่าน ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย จิตร เสียงกอง เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
คำขวัญประจำจังหวัด เหนือสุดในสยาม ชายแดนสามแผ่นดิน ถิ่นวัฒนธรรมล้านนา
กลุ่มที่ กลุ่มที่ 9 สองแคว โครงการส่งเสริม สินค้าเกษตรที่ ปลอดภัยและได้ มาตรฐาน ( ข้าว ) วิทยากรประจำกลุ่ม อ. พล ภัทร วารี ผู้ช่วยวิทยากร นาย สมชาย ชะฎาดำ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มที่ 15 กลุ่ม ลูกน้ำเค็ม กลุ่มที่ 15 กลุ่ม ลูกน้ำเค็ม จังหวัดสงขลา สุราษฎร์ธานี สตูล ระนอง นราธิวาส พัทลุง ตราด

จังหวัดสงขลา สุราษฎร์ธานี สตูล ระนอง นราธิวาส พัทลุง และตราด สมาชิกกลุ่ม 15 ลูกน้ำเค็ม จังหวัดสงขลา สุราษฎร์ธานี สตูล ระนอง นราธิวาส พัทลุง และตราด

รายชื่อสามชิกกลุ่ม 15 จังหวัดสงขลา จังหวัดตราด จังหวัดระนอง นายวุฒิศักดิ์ สุวรรณ จังหวัดตราด นายวินัย ขยันยิ่ง จังหวัดระนอง นายวสันต์ สุขสุวรรณ นางสาวอรสา ช่วยบำรุง นางเพียงฤดี สุขแก้ว จังหวัดสตูล นายชาญชัย วิจักขณาภรณ์ นายสุเอียด คงเย็น นายบุญร่วม หนูนอง นายประทีป จันทสุริวงศ์ จังหวัดพัทลุง นายสมชาย เพ็งประไพนางอรทัย เพ็งประไพ จังหวัดนราธิวาส นายสัมพันธ์ อุดร จังหวัดสุราษฏร์ธานี นายจรัญ รอดศรีนาค นางสาวกัญญา สุวรรณโณ นายวุฒิพงศ์ วงศ์จิตธรรม นายสมมิตร สุวรรณพรรคนางสาวนันทวัน วัฒนา นางสาวพัชนีกูล บุญแสง นางสาวหับสะ ตงเยต นายวีระศักดิ์ ฤทธิรณ นางสาวขวัญชนก บุปผากิจ นายสิทธิชัย ช่วยสงค์ นางสาวรัตนา จันทร์แก้ว นายเจตนิพิฐ ปานเพชร นางพรทิพย์ สมวงศ์ นางสาวสมใจ พันธุ์พิทย์แพทย์

กลุ่มลูกน้ำเค็ม นาย วสันต์ สุขสุวรรณ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว สำนักงานเกษตรจังหวัดระนอง ผู้นำเสนอ จิรภัทร ชูศิลป์ทอง อาจารย์ที่ปรึกษา บุษยมาศ นิลน้อย ผู้ช่วยอาจารย์ที่ปรึกษา

โครงการส่งเสริมการปลูกข่าเหลืองแก้จน ผลสัมฤทธิ์ 1. คุณภาพชีวิตของเกษตรกรดีขึ้น 2. เกษตรกรเชื่อมั่นในการทำงานของศูนย์บริการฯ 3. ผู้บริโภคเกิดความพึงพอใจ 4. แก้ไขปัญหาความยากจนตามนโยบายรัฐได้สำเร็จ

ผลลัพธ์ รายได้ = ราคาที่เกษตรกรขายได้ ณ แปลงเกษตรกร 18บาท/กก. = ไร่ละ 172,800 บาท เกษตรกรมีรายได้ 50 ครัวเรือนๆละ 120,000 บาท (หลังจากหักค่าใช้จ่าย) มูลค่ารวม 6,000,000 บาท (เกษตรกร 50 คน) สร้างวิทยากรเกษตรเพิ่มขึ้น

ผลผลิต ระยะการปลูก 50x 50 ซ.ม. = 6,400 กอ/ไร่ หลังปลูก 6-8 เดือน ให้ผลผลิต เฉลี่ยกอละ 1.5 กก.= 9,600 กก./ไร่ เกษตรกร 50 ครัวเรือนๆ ละ 1 ไร่ จะได้ผลผลิต= 480,000 กก.

กระบวนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ 1. กำหนดขั้นตอนการดำเนินงาน 1.1 กำหนดบุคคลเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมาย 1.2 วางแผนการทำงาน ประชุมชี้แจง คัดเลือกเกษตรกร การฝึกอบรมและดูงาน สนับสนุนปัจจัยการผลิต ติดตามประเมินผลและรายงานผล

กระบวนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ (ต่อ) 2. การมีส่วนร่วมของเกษตรกร การจัดตั้งกองทุนหมุนเวียน เกิดการรวมกลุ่มการผลิตและจำหน่าย เกษตรกรสมทบทุนในการจัดหาปัจจัยการผลิต 10% ตัวแทนเกษตรกรมีส่วนร่วมในการจัดหาปัจจัยการผลิต

กระบวนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ (ต่อ) 3. วิธีการนำไปสู่การปฏิบัติ การฝึกอบรมและดูงาน ดำเนินการตามโครงการ

ปัจจัยที่เอื้อต่อการทำงาน กลยุทธ์หน่วยงานรุกไปข้างหน้า สนองนโยบายขจัดความยากจนของรัฐบาล การเมือง สังคมการเกษตร เศรษฐกิจ เทคโนโลยี ผู้ว่า CEO ,อปท.(อบจ. อบต. เทศบาล) มีตลาดรองรับที่ชัดเจน เกิดการรวมกลุ่ม ภูมิปัญญาชาวบ้าน เกิดถ่ายทอดซึ่งกันและกัน รายได้เกษตรกรเพิ่มขึ้น การแปรรูป ลดการว่างงาน แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน มีแหล่งทุนสนับสนุน(ธกส.) อุตสาหกรรมสนับสนุน

ปัจจัยนำเข้า คน เทคโนโลยี วัตถุดิบ เงิน ระยะเวลา เจ้าหน้าที่ กรรมการศูนย์ฯ. เกษตรกร วิทยากร ผู้นำท้องถิ่น เทคโนโลยี ภูมิปัญญาชาวบ้าน อุปกรณ์การเกษตร แปลงสาธิต องค์ความรู้ วัตถุดิบ พันธุ์ข่าเหลือง ปุ๋ย น้ำและระบบการให้น้ำ แปลงสาธิต เงิน งบ 1,500,000บาท= ค่าพันธุ์ข่าเหลือง ปุ๋ย การฝึกอบรมและดูงาน ระยะเวลา กุมภาพันธ์ – ธันวาคม 2549

ข้อมูลเพิ่มเติม http//:www.ranong.doae.go.th ขอขอบคุณ