งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการเทียบเท่าผลผลิต ประจำปีงบประมาณ 2550

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการเทียบเท่าผลผลิต ประจำปีงบประมาณ 2550"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการเทียบเท่าผลผลิต ประจำปีงบประมาณ 2550
เอกสารของ สอศ. 8 มีนาคม 2550 โรงแรมเชียงใหม่ฮิลล์

2 ปัญหาการดำเนินการ งบประมาณล่าช้า เกิดความไม่แน่ใจในการดำเนินการ (ปี 50 มีนาคม) การกำหนดคุณสมบัติของกลุ่มเป้าหมายไม่ชัดเจน กำหนดกิจกรรมมากเกินไป ทำให้ดำเนินการไม่ตรงเป้าหมาย การสื่อสารทำความเข้าใจถึงเป้าหมายโครงการจาก สอศ. ถึงระดับผู้ปฏิบัติ ผู้ปฏิบัติไม่ได้รับคู่มือการปฏิบัติการโครงการ การกำหนด/หา กลุ่มเป้าหมาย วิธีดำเนินการ ให้ได้ตามเป้าหมาย การใช้งบประมาณ มีการใช้ผลผลิตของงบประมาณปกติ หรือระยะสั้น มาเป็นผลผลิตของ Flag Ship การเก็บ และสรุปผลข้อมูล ขาดเครื่องมือ

3 ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษาภาคเหนือ
ข้อเสนอแนะ ควรมีคณะกรรมการพิจารณาโครงการให้ตรงตามเป้าหมาย ผู้รับนโยบายควรเผยแพร่เอกสาร และข้อมูลให้ถึงผู้ปฏิบัติ กำหนดกรอบกิจกรรมให้เป็นไปตามบริบทของสถานศึกษา และกลุ่มเป้าหมาย การหากลุ่มเป้าหมายควรใช้เครือข่าย ชุมชน องกรค์กรส่วนท้องถิ่นมากกว่าไปสำรวจด้วยตนเอง จัดทำฐานข้อมูลกลุ่มเป้าหมายให้ชัดเจน ควรดำเนินการด้วยการบริหารจัดการของ อศจ. และเชื่อมโยงกับจังหวัด เพื่อไม่ให้เกิดการซ้ำซ้อนของกลุ่มเป้าหมาย แยกกลุ่มเป้าหมายจากผลผลิตปกติและระยะสั้นให้ชัดเจน ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษาภาคเหนือ

4 1. โครงการอาชีวะเพื่อแก้ปัญหาความยากจน (F1)
สถานศึกษาละ 81,000 บาท อศจ.ละ 40,000 บาท 1.1 ร่วมกับสถานประกอบการ จังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีการหาความต้องการ ฝึกอบรมและพัฒนาอาชีพตามความต้องการ เป้าหมายผู้รับบริการสามารถสร้างงานสร้างอาชีพ สถานศึกษาละไม่ต่ำกว่า 150 คน อศจ. งบประมาณ 40,000 บาท สู่เป้าหมายจังหวัดอยู่ดีมีสุข และเชื่อมโยงกับกลุ่มอาชีพ อย่างน้อยจังหวัดละ 10 อาชีพหลัก งบบริหารจัดการรวมถึงการรวบรวมข้อมูล

5 ชื่อกิจกรรมที่สถานศึกษาดำเนินการ
กลุ่มอาชีพ สถานที่ จำนวนสมาชิก ชื่อกิจกรรมที่สถานศึกษาดำเนินการ 1 2 10 รวม หน้า 1

6 (วัน เดือน ปี ที่จัด กิจกรรมที่จัด จำนวนผู้เข้าร่วม)
1.2 จัดฝึกอบรม 108 อาชีพ ภายใต้กิจกรรมถนนอาชีพ อาชีวะร่วมด้วยช่วยประชาชน โดยบูรณาการเข้ากับจังหวัด มีกำหนดการจัดและกิจกรรม (วัน เดือน ปี ที่จัด กิจกรรมที่จัด จำนวนผู้เข้าร่วม) ประชาชนได้รับฝึกอาชีพไม่น้อยกว่า 50,000 คนทั่วประเทศ จังหวัดละประมาณ 650 คน (นำเสนอปัญหา ข้อเสนอแนะ วิธีการที่ทำให้ได้ผลดี)

7 ที่ วัน เดือน ปี กิจกรรม จำนวนคน รวม หน้า 2

8 วิธีการดำเนินการที่ได้ผลดี
ปัญหา อุปสรรค ในการดำเนินการ ข้อเสนอแนะ วิธีการดำเนินการที่ได้ผลดี หน้า 2

9 2. ความร่วมมือเพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนด้านอาชีวศึกษา (F2)
สถานศึกษาละ 14,000/18,000 บาท(2,000 คน) บูรณาการการทำงานร่วมกันกับสถานประกอบการ สภาอุตสาหกรรมจังหวัด สภาหอการค้าจังหวัด เป้าหมายสถานประกอบการเพิ่มขึ้น/ความร่วมมือมีความเข้มแข็งเพิ่มขึ้น สถานศึกษาละไม่น้อยกว่า 5 แห่ง จำนวนนักเรียนนักศึกษา คนงานในสถานประกอบการเพิ่มขึ้นสถานศึกษาละไม่น้อยกว่า 10 คน อศจ. งบประมาณ 80,000 บาท สำรวจข้อมูลความต้องการ ประสานความร่วมมือ สร้างเครือข่าย เชิดชูเกียรติฯ ศูนย์กำลังคนอาชีวะ เผยแพร่และติดตามผล

10 สาขาวิชา/หลักสูตรที่พัฒนา จำนวนกลุ่มเป้าหมายเป็น
ชื่อ – ที่อยู่ สถานประกอบการ สาขาวิชา/หลักสูตรที่พัฒนา จำนวนกลุ่มเป้าหมายเป็น หมายเหตุ/มีการเทียบโอนวุฒิ นักศึกษา คนงานในสถานประกอบการ 1 หน้า 3

11 วิธีการดำเนินการที่ได้ผลดี
ปัญหา อุปสรรค ในการดำเนินการ ข้อเสนอแนะ วิธีการดำเนินการที่ได้ผลดี หน้า 4

12 3. จัดการองค์ความรู้ในการสร้างผู้ประกอบการ (F3)
งปม.สถานศึกษาละ 84,600 บาท สนับสนุนการเป็นผู้ประกอบการ การนำเทคโนโลยีด้านต่างๆ ไปปรับใช้เพื่อเพิ่มมูลค่าการผลิตต่อยอดสินค้าและบริการ ให้แก่นักเรียน นักศึกษา ประชาชน สถานศึกษาละไม่น้อยกว่า 15 คน มีการประสานเครือข่าย เชื่อมโยงความร่วมมือและบูรณาการภารกิจร่วมกับหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน รวมทั้งอนุรักษ์พัฒนา และใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญาท้องถิ่น อศจ. งบประมาณ 30,000 บาท สำรวจและจัดทำ Profile ศึกษาความต้องการ สร้างเครือข่ายหลากหลาย SME ศิษย์เก่า บริหารเชื่อมโยง เผยแพร่และติดตามผล

13 ผลิตภัณฑ์/สินค้า/บริการ และสถานที่ องค์ความรู้/กิจกรรม
จำนวนกลุ่มเป้าหมายเป็น เครือข่าย/ภูมิปัญญาท้องถิ่น นักศึกษา ประชาชน 1 2 หน้า 5

14 วิธีการดำเนินการที่ได้ผลดี
ปัญหา อุปสรรค ในการดำเนินการ ข้อเสนอแนะ วิธีการดำเนินการที่ได้ผลดี หน้า 6

15 4. โครงการจัดตั้งศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ (F4)
งบประมาณสถานศึกษาละ 13,000 บาท พัฒนาองค์ความรู้ ทักษะการเป็นผู้ประกอบการให้แก่นักศึกษา ประชาชน พัฒนาศูนย์บ่มเพาะ สถานศึกษาละไม่น้อยกว่า 10 คน จัดตั้งศูนย์บ่มเพาะอาชีวศึกษา เพื่อสร้างทักษะ ประสบการณ์ในการเป็นผู้ประกอบการ สถานศึกษาละอย่างน้อย 1 กลุ่มธุรกิจ

16 ผลิตภัณฑ์/สินค้า/บริการ และสถานที่ กิจกรรมที่ดำเนินการ
จำนวนกลุ่มเป้าหมายเป็น เครือข่าย/วิสาหกิจ ที่ร่วมมือ นักศึกษา ประชาชน 1 2 หน้า 7

17 วิธีการดำเนินการที่ได้ผลดี
ปัญหา อุปสรรค ในการดำเนินการ ข้อเสนอแนะ วิธีการดำเนินการที่ได้ผลดี หน้า 8

18 ขอบคุณและสวัสดี เป้าหมายแม่นมั่น วิธีการหลากหลาย รวมใจพัฒนา
ศึกษากลุ่มเป้าหมายก่อนดำเนินการ วัดผลทุกครั้งเพื่อปรับปรุง มุ่งผลสัมฤทธิ์เป็นหลัก ขอบคุณและสวัสดี


ดาวน์โหลด ppt โครงการเทียบเท่าผลผลิต ประจำปีงบประมาณ 2550

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google