การวัดและประเมินพัฒนาการของผู้เรียน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ฝ่ายวิชาการ โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย
Advertisements

ปฐมนิเทศ การเขียนโปรแกรม ง30202.
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
หลักสูตรโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
ง า น วิ จั ย ใ น ชั้ น เ รี ย น ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ ค ณิ ต ศ า ส ต ร์
งานวิจัย ผลการใช้แบบฝึกการเขียนคำที่มักเขียนผิด
งานวิจัย เรื่อง ผลการใช้แบบฝึกการเขียนคำที่มี รูปวรรณยุกต์กำกับ
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย
ฝ่ายวิชาการ โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย
งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
การประเมินผลการเรียน
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
กระบวนการวิจัยเชิงประเมิน
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การวิเคราะห์ผู้เรียน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การวัดผล (Measurement)
การเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาโปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่อง งานนำเสนอข้อมูลด้านมัลติมีเดียนักเรียนปวช.2.
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 3 เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2 แผนกช่างอุตสาหกรรม.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาบุคลิกภาพโดยใช้แบบฝึกปฏิบัติของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1-3 ( ปวช.1-3 )สาขาวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
โรงเรียนสายธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
วิจัยประเภทการเรียนการสอน
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคนิคการใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับ เทคนิคจิกซอว์ เรื่อง อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น.
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนาความพร้อมในวิชาชีพ
ผู้วิจัย อาจารย์พรรณี เสือรักษ์
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
ผู้วิจัย อาจารย์เกษร วุฒิสินธ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
Backward Design โดย อาจารย์ประจำวิชาฟิสิกส์ชั้นปีที่ ๓
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
ผู้วิจัย นางระเบียบ คุณากร วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
โรงเรียนระยองพาณิชยการ ผู้วิจัย นางประนอม ยางสง่า
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
โดย นางวัลภา เก่งอักษร
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การทดลองใช้เอกสารประกอบการเรียน ในวิชาบัญชีเบื้องต้น 2
การใช้ข้อสอบกลางในการ สอบปลายปี
ผู้วิจัย จุฬารัตน์ มหาชัย
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการใช้เวอร์เนียร์ไฮเกจ ร่างแบบชิ้นงานโดยใช้ชุดฝึกทักษะ วิชางานฝึกฝีมือ ของนักเรียนช่างไฟฟ้า สาขางานไฟฟ้ากำลัง ชั้นปีที่
อาจารย์ชรินทร ชะเอมเทส
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวัดและประเมินพัฒนาการของผู้เรียน คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง

ขอบเขตเนื้อหา กรอบการวัดและประเมินพัฒนาการ วิธีการวัดพัฒนาการ ขั้นตอนการประเมินพัฒนาการของผู้เรียน

กรอบการวัดและประเมินพัฒนาการ ตรวจสอบความก้าวหน้าของผู้เรียนใน 4 ด้าน ผลการเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้ง 8 กลุ่ม การคิดวิเคราะห์ อ่านและเขียนสื่อความ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

วิธีการวัดพัฒนาการ วิธีการวัดพัฒนาการจากความแตกต่างระหว่าง คะแนน วิธีการวัดพัฒนาการจากความแตกต่างระหว่าง คะแนน คะแนนพัฒนาการ = X2 – X1 เมื่อ X2 คือ คะแนนจากการวัดครั้งหลัง X1 คือ คะแนนจากการวัดครั้งแรก

จุดเด่น ง่าย ใช้การวัดเพียง 2 ครั้ง จุดเด่น ง่าย ใช้การวัดเพียง 2 ครั้ง จุดอ่อน คะแนนพัฒนาการไม่เป็นอิสระจากคะแนนเริ่มต้น ผู้เรียนที่มีความสามารถสูงไม่สามารถทำคะแนน หลังเรียนให้มากกว่าคะแนนเต็มได้

คะแนนพัฒนาการ = 100(X2 – X1)/Y-X1 วิธีการวัดพัฒนาการสัมพัทธ์ คะแนนพัฒนาการ = 100(X2 – X1)/Y-X1 เมื่อ X2 คือ คะแนนจากการวัดครั้งหลัง X1 คือ คะแนนจากการวัดครั้งแรก Y คือ คะแนนเต็มในการวัด

จุดเด่น สามารถนำคะแนนพัฒนาการมาเปรียบเทียบกันได้ คำนวณง่าย สามารถนำคะแนนพัฒนาการมาเปรียบเทียบกันได้ ผู้เรียนที่ได้คะแนนจากการวัดครั้งแรกสูงจะมีพัฒนาการ สูงกว่าผู้เรียนที่มีคะแนนจากการวัดครั้งแรกต่ำ ถึงแม้จะมี ผลตางระหว่างคะแนนจากการวัดก่อนและหลังเรียนเท่ากัน

ตัวอย่าง ครูดำเนินการสอบวิชาภาษาไทย คะแนนเต็ม 50 คะแนน โดยคูทำการสอบช่วงเปิดภาคเรียน (ก่อนเรียน) และก่อนปิดภาคเรียน (หลังเรียน) ด้วยแบบทดสอบชุดเดิม ผลการวัดพบว่า เด็กชายสุชาติ ได้คะแนนสอบก่อนเรียน 8 คะแนน ได้คะแนนสอบหลังเรียน 18 คะแนน เด็กหญิงสุภา ได้คะแนนสอบก่อนเรียน 12 คะแนน ได้คะแนนสอบหลังเรียน 22 คะแนน

ขั้นตอนการประเมินพัฒนาการของผู้เรียน กำหนดสิ่งที่ต้องการประเมิน ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง มาตรฐานการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนสื่อความ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัตถุประสงค์ของกิจกรรม

กำหนดสัดส่วนของคะแนนพัฒนาการกับคะแนนผลสัมฤทธิ์ กำหนดเครื่องมือที่ใช้ในการวัด แบบทดสอบ แบบวัดภาคปฏิบัติ แบบสังเกตพฤติกรรม แบบประเมิน แบบรายงานตนเอง ฯลฯ

กำหนดวิธีการหาคะแนนพัฒนาการ กำหนดวิธีการวัด วัดก่อนและหลังเรียนด้วยเครื่องมือเดิมหรือคู่ขนาน กำหนดผู้ให้ข้อมูล ครู นักเรียน เพื่อนนักเรียน ผู้ปกครอง ฯลฯ กำหนดวิธีการหาคะแนนพัฒนาการ วิธีวัดจากความแตกต่าง วิธีวัดพัฒนาการสัมพัทธ์

กำหนดเกณฑ์การตัดสินผล กลุ่มสาระ กำหนดระดับผลการเรียนตามช่วงคะแนน เช่น 80-100 = 4 การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนสื่อความ กำหนดเกณฑ์ขั้นต่ำในการผ่าน/ไม่ผ่านเกณฑ์

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ กำหนดเกณฑ์ในการวินิจฉัยพฤติกรรม เช่น 80 คะแนนขึ้นไป มีพฤติกรรมดีเยี่ยม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กำหนดเกณฑ์ขั้นต่ำในการผ่าน/ไม่ผ่านเกณฑ์ เช่น คะแนน 60 ขึ้นไป