การเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบบัณฑิตศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักเกณฑ์ วิธีการกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
Advertisements

การเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของระบบบัณฑิตศึกษา 14 กุมภาพันธ์ 2550.
แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ ด้านการเรียนการสอน
มุมปัญหาและไขข้อข้องใจ
1 การประเมินคุณภาพ ภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานจัดการเรียนการสอน โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน หน่วยงาน
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติการยืมเงินทดรองจ่ายเงินรายได้
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
Graduate School Khon Kaen University
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง การประเมินบุคคล
การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร กำแพงแสน
04/04/60 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำงบประมาณจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา
แนวทางการรายงานผลการ ดำเนินการ ตั้วบ่งชี้ที่ สกอ
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2552 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ผศ.ดร. ม.ร.ว. กัลยา ติงศภัทิย์ รองอธิการบดี 30 มกราคม 2555
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งน้ำ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
การประมวลและประเมินความก้าวหน้าทางวิชาการ
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
รายละเอียดข้อมูลทั่วไป
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
ปฏิทินการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยฯ
การใช้งานเว็บไซต์บัณฑิตวิทยาลัย
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
27 ตุลาคม 2551 ณ ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การประชุมคณะกรรมการพัฒนาตัวบ่งชี้เพื่อการ
การประชุมผู้ประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2556 ครั้งที่ 1/2556 วันที่ 18 ตุลาคม
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ไทย ทิพย์สุวรรณกุล
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลาน ครินทร์ 23 มิถุนายน 2552.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
มาตรฐานหลักสูตรปริญญาเอก สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ศาสตราจารย์ ดร. ปราณี กุลละ วณิชย์ 29 มีนาคม 2550.
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
1 (ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน ) ว่าด้วยการเสนอ และการพิจารณาอนุมัติโครงการ.

1. ชื่อสถาบัน ให้ระบุชื่อ สถาบันการศึกษา คณะวิชา และภาควิชาที่เปิดสอน หลักสูตร 2. ชื่อหลักสูตร ให้ระบุชื่อ หลักสูตรและสาขาวิชาให้ ชัดเจน แบบรายงานข้อมูลการ.
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
กลุ่มที่ 2 ผู้ปฏิบัติงานด้านการประกันคุณภาพ
1 การประเมิน คุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน เขตการศึกษา วันที่
การประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานสนับสนุน
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
การเขียนบทคัดย่อ และ Abstract
หมวดที่ 5 การวัดผลและการประเมิน
หมวดที่ 2 การลงทะเบียนเรียน
งานธุรการ กองการบริหารงานบุคคล
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้รายวิชาภาคปฏิบัติ
กระบวนการประกันคุณภาพ ภาควิชาการพยาบาลพื้นฐาน
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ประกาศต่างๆที่ออกให้สอดคล้องกับข้อบังคับฯบัณฑิตศึกษา
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คำนิยามและขั้นตอนการเสนอหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา
การเขียนเอกสารชี้แจงผู้เข้าร่วมการวิจัย (Participant Information Sheet) โดย นางนวี เอกศักดิ์ กรรมการจริยธรรมการวิจัยในคน มหาวิทยาลัยมหิดล (Layperson)
รายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2)
การขอตำแหน่งทางวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร. ปานสิริ พันธุ์สุวรรณ
การบริหารวิชาการและการเรียนการสอน
งานกิจการนิสิต
การปฏิบัติตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยทักษิณ ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๒ และระเบียบอื่นที่เกี่ยวเนื่อง นายธานินทร์ เงินถาวร งานบริการการศึกษา.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการตรวจสอบการสำเร็จการศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบบัณฑิตศึกษา 19 กุมภาพันธ์ 2550

หัวข้อบรรยาย การบริหารจัดการตามระเบียบ 2549 การนำเสนอหลักสูตร  ทำอย่างไรจึงจะเร็ว งบประมาณสนับสนุนการทำวิทยานิพนธ์ ความสัมพันธ์ระหว่างบัณฑิตศึกษา-วิจัย

ประเด็นหลักในระเบียบ 49 เลียนแบบเกณฑ์ สกอ. อาจารย์ประจำหลักสูตร อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ กรรมการสอบวิทยานิพนธ์- คณะตั้ง external เองได้

ประเด็นหลักในระเบียบ 49 ผลงาน minimum ของปริญญาโท คือ proceeding ที่มี peer review กระจายอำนาจให้คณะ วิทยานิพนธ์ 18 หน่วยกิต

ขั้นตอนการขึ้นทะเบียนอาจารย์ระดับบัณฑิตศึกษา ปัจจุบัน บว. มีข้อมูลเดิมของคณะอยู่แล้ว บว. ส่งข้อมูลเดิมให้คณะ update ปีละ 2 ครั้ง คือ เดือน เมษายน และ ตุลาคม ของทุกปี โดยพยายามใช้แบบฟอร์มตาม สกอ.

คณะและบว. ร่วมกันตรวจสอบการดำเนินงานเป็นระยะๆ

ขั้นตอนก่อนสำเร็จการศึกษา (อยู่ที่คณะ) การทำวิทยานิพนธ์ การให้ grade การขอสอบ การแต่งตั้งกรรมการสอบ การแจ้งผลการสอบ

ขั้นตอนสำเร็จการศึกษา สอบผ่านภาษาอังกฤษ Proceeding ที่มี peer review ผลงานตีพิมพ์ในวารสาร เงื่อนไขของแหล่งทุนหรือหลักสูตร

ขั้นตอนสำเร็จการศึกษา สอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ผ่านตามมติเสียงข้างมาก ส่งเล่มดำ แจ้งเรื่องไปทะเบียนกลาง สภาอนุมัติสำเร็จการศึกษา

แบบ บว. 1- บว. 11 ยังคงเดิม ยกเว้นส่วนที่ลงนาม ได้เปลี่ยนเป็น “ผู้มีอำนาจลงนาม” คณะสามารถดัดแปลงแบบได้ เพิ่มเติม และ ขอให้คงส่วนเดิมไว้ด้วย ตัวอย่างเช่น…… bv.pdf

ถาม-ตอบ ปัญหาระเบียบ 49 ระเบียบ 49 มีผลบังคับใช้เมื่อไร ตอบ ปีการศึกษา 2549 เงื่อนไขการสำเร็จการศึกษาของนักศึกษาปริญญาโท แผน ก 2 ตอบ นักศึกษา 49 ใช้ระเบียบ 49 (ต้องมี proceeding) นักศึกษา 48 ใช้ตามประกาศของ สกอ. (ต้องมี proceeding) นักศึกษา 45-47 ใช้ระเบียบ 45 (ไม่บังคับเรื่อง proceeding แต่ต้องไปเสนอผลงาน)

องค์ประกอบของกรรมการสอบ ตอบ ใช้ระเบียบ 49 มติกรรมการบัณฑิตศึกษาประจำคณะ หลังวันที่ 15 ตุลาคม 2549 ถือว่าโมฆะหรือไม่ ตอบ ไม่ องค์ประกอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ตอบ คณะสามารถกำหนดได้เอง คณะกรรมการบริหารหลักสูตร 1 ชุด ทำหน้าที่บริหารหลักสูตรมากกว่า 1 หลักสูตรได้หรือไม่ ตอบ แต่ละหลักสูตรต้องมีผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่แยกกัน หากคณะกรรมการบริหารประกอบด้วยผู้รับผิดชอบหลักสูตรครบทุกหลักสูตร ก็สามารถบริหารทุกหลักสูตรได้

การบริหารจัดการเรื่อง คุณภาพหลักสูตร อาจารย์ นศ. รองวิจัยและบัณฑิตศึกษา รองวิชาการ รองวางแผน คณะต่างๆ บว. ทะเบียนกลาง สภาวิชาการ กองคลัง การบริหารจัดการเรื่อง คุณภาพหลักสูตร อาจารย์ นศ. การรับนักศึกษา…แบบปกติ, พิเศษ, ทั้งปี การประชาสัมพันธ์- ทันต่อเหตุการณ์ ปัญหาความขัดแย้ง ความไม่เข้าใจ จริยธรรม Hot line

การรับนักศึกษา รอบปกติ ตามที่ บว. ประกาศ เกียรตินิยม มอ. วิชาการ คณะเดินสาย คณะรับเองเป็นกรณีพิเศษ ขอความร่วมมือให้ดำเนินงานโปร่งใสและรอบคอบ

ขั้นตอนการจัดทำหลักสูตร หลักสูตรใหม่ หลักสูตรเก่า หลักคิด คณะ ผ่านบว. สภาวิชาการ สภามหาวิทยาลัย สกอ หลักสูตร หลักสูตร คณะ บว. สภาวิชาการ สภามหาวิทยาลัย สกอ.

ปัญหาของการจัดทำหลักสูตร อาจารย์และฝ่ายสนับสนุนที่ทำหน้าที่ มักหมุนเวียนกันมาทำ จึงขาดความเข้าใจที่ต่อเนื่อง (รู้น้อยเกินไป) ผู้จัดทำหลักสูตร เข้าใจว่าตนเองรู้เรื่อง (รู้มากเกินไป) การเปิดและการปรับปรุง ไม่วางแผนล่วงหน้า กรรมการคณะ หรือ กรรมการ บว. บางท่าน ไม่เข้าใจขั้นตอนการพิจารณา ไม่ให้ความสำคัญกับ template การสื่อสารที่ผิดพลาด

การพิจารณาหลักสูตร บว. และ คณะ ดูแลเรื่อง รูปแบบ กรรมการ บว. พิจารณาประเด็น 1.ปรัชญาและวัตถุประสงค์ 2. จุดขาย หรือ ความเด่น 3. จะบริหารหลักสูตร และดูแลอาจารย์ นักศึกษาอย่างไร เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์

ทุนอุดหนุนการทำวิทยานิพนธ์ บว. ต้องได้รับการจัดสรรงบประมาณจากมหาวิทยาลัย ปีละ 9 ล้าน บว. มีเงินรายได้จาก ค่าสมัครเท่านั้น ที่ผ่านมาจัดสรรเงินออกไปทั้งหมด ปีต่อปี ไม่มีการคงเหลือไว้ที่ บว.

ทุนอุดหนุนการทำวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดสรร - จัดสรรตามคุณภาพ โดยส่ง reviewer ปัญหา: ช้า ขาด reviewer เฉพาะสาขา เรื่องที่ส่งเพื่อรับทุน กับเรื่องที่ทำวิทยานิพนธ์ เป็นคนละเรื่องกัน

ทุนอุดหนุนการทำวิทยานิพนธ์ - จัดสรรตามเงื่อนไขที่อาจารย์และนักศึกษาร่วมกันพิจารณา ปัญหา: ขาดการสื่อสารระหว่างอาจารย์และนักศึกษา ไม่ทำตามเงื่อนไข ตัวอย่าง: นักศึกษา: บว. บังคับ; อาจารย์บังคับ; จำไม่ได้ อาจารย์: บว. บังคับ; นักศึกษาทำโดยไม่ปรึกษา; นักศึกษาไม่มีคุณภาพ

แล้วต่อไปจะจัดสรรอย่างไร จัดสรรให้ทุกโครงการ ? จัดสรรเฉพาะบางโครงการ ? (คัดออก 30%)

คำถามที่ต้องการคำตอบ ผู้บริหารระดับสูง และ สตง. ถามว่าให้เงินไป 9 ล้าน แล้วได้อะไรบ้าง

เราควรจะทำอย่างไรกันต่อไป เกณฑ์การประเมินต้องไม่เหมือนกัน แต่ต้องชัดเจน แนวทางของ ศ. นพ. วีระศักดิ์ ศวีระศักดิ์.pdf

ความสัมพันธ์ระหว่างบัณฑิตศึกษา-วิจัย วิทยานิพนธ์ นักศึกษา 70% แรงงาน อาจารย์ 70% จิตวิญญาณ การคิด%ผลงาน.pdf Thesis-breakdown.pdf