ระบบประกันคุณภาพและระบบเอกสารของ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2548
Advertisements

คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
Profi le Prod uct Depl oy Outp ut VISION MISSION - สร้างความรู้ - วิจัย - บริการ - สร้างบัณฑิต นโยบาย - บริหาร 13 ข้อ - การเรียนการ สอน 3 ข้อ - พัฒนานักศึกษา.
ยินดีต้อน เข้าสู่ โครงงาน.
7.1-1 ร้อยละผู้ที่สอบผ่านใบประกอบวิชาชีพ
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
Graduate School Khon Kaen University
แนวทางการรายงานผลการปฏิบัติราชการโดยผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2552 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
ระบบประกันคุณภาพการศึกษาเกี่ยวข้องกับนิสิตอย่างไร
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
การประกันคุณภาพการศึกษา
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหาร มจธ.
การขอเบิกเงินนอกงบประมาณ
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การประชุมคณะกรรมการพัฒนาตัวบ่งชี้เพื่อการ
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
หลักการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลาน ครินทร์ 23 มิถุนายน 2552.
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
หมวด 7 result 1. ECPE มิติที่ 7.1 ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน 2.
4 เมษายน 2560 หมวด 7 result.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
Office of information technology
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 30 มิถุนายน 2555 สำนักวิชาการและ แผนงาน.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 31 พฤษภาคม 2555.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 15 มิถุนายน 2555.
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
70 th Anniversary of URU Goal : The University of Quality สู่ มหาวิทยาลัยคุณภาพได้มาตรฐานระดับชาติ สคน. การบรรยายพิเศษ “ นโยบายด้านการประกันคุณภาพ การศึกษา.
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ วันที่ มิถุนายน คะแนน ระดับดีมาก.
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร Executive Summary
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ความเป็นมา จัดตั้งตามคำสั่งกรมส่งเสริม การเกษตรที่ 384/2548 ตั้งสำนักงานเลขานุการ คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจ ชุมชน และเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน เพื่อ รองรับภารกิจตามพระราชบัญญัติ
ผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน ( O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้จัดทำ นางสาวภัทศิรา ภูมิเมือง เลขที่ 16 นางสาวสุพัชรญา มะโนรา เลขที่
การลงข้อมูลแผนการสอน
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
งานกิจการนิสิต
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
Commission Commission on Higher Education Quality Assessment online system CHEQA Updated July 25, 2013
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
การค้นในปริภูมิสถานะ
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
การปรับเงินเดือน กรณีที่เงินเดือนยังไม่ถึงขั้นต่ำของระดับ
กราฟเบื้องต้น.
แนวปฏิบัติที่ดีของ การประกันคุณภาพ การศึกษา. ที่องค์ประกอบ ผลการประเมิน ปี 52 ปี 53 ปี 54 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผน ดำเนินการ
รายงานความก้าวหน้าการตรวจติดตามประเมิน
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบประกันคุณภาพและระบบเอกสารของ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระบบประกันคุณภาพและระบบเอกสารของ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เนณุภา สุภเวชย์ 1

จากอดีต...สู่ปัจจุบัน

จากอดีต...สู่ปัจจุบัน สภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้มีมติเห็นชอบระบบประกันคุณภาพทางวิชาการในการประชุมครั้งที่ 576 เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2540 คณะอักษรศาสตร์ก็ได้ดำเนินการตามระบบที่กำหนดขึ้นในขณะนั้นในด้านต่าง ๆ หลายด้าน และได้ใช้มาตรฐานประกันคุณภาพสำหรับหน่วยงานด้านการเรียนการสอน: CU-QA 84.1 เป็นมาตรฐานสำหรับดำเนินการเกี่ยวกับการประกันคุณภาพของคณะอักษรศาสตร์ตามมติคณะกรรมการอำนวยการการประกันคุณภาพคณะอักษรศาสตร์ในการประชุมครั้งที่ 3/2544 เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2544 เป็นต้นมา

วิธีการตรวจ ตรวจแฟ้มและเอกสาร ถ้าพบจุดบกพร่องแต่ไม่มาก ให้ Finding Sheet ถ้าพบข้อควรปรับปรุง ให้ ใบ CAR เป็นยุคที่คณะฯ เริ่มมีระบบแฟ้ม

จากอดีต...สู่ปัจจุบัน ต่อมาในปี 2548 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้พัฒนาระบบประกันคุณภาพดังกล่าวโดยผนวกรวมมาตรฐาน CU-QA 84.1 84.2 84.3 และ 84.4 เข้าด้วยกันจนเหลือระบบเพียงหนึ่งเดียวในชื่อระบบประกันคุณภาพ มาตรฐาน CU-QA 84

CU-QA จากอดีต แนวคิดการประกันคุณภาพ ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Classify Clarify Communication Consistency Continuous Improvement CU-QA 84.1 Requirement QA System Documentation KPI Int. & Ext. Auditing-Assessment Auditor /IQAPM-Assessor CAR CU-SsQA QMR CU-CQA CU-QA 84.2 มาตรฐาน CU-QA 84 Organization Chart CU-QA 84.3 Quality Manual : Why QM Procedure Manual : What Who When Where PM CU-RQA CU-QA 84.4 WI Work Instructions : How CU-SaQA Form Record & Others QA System Documentation Quality Policy Quality Objective / Target

มองย้อน จากอดีต เดินทางสู่ปัจจุบัน เพื่อก้าวสู่อนาคต Activity/Function Viewpoint CU Quality Model & QA System CU-SaQA CU-SsQA CU-RQA CU-CQA มาตรฐาน CU-QA 84 12

ประเภท ขอบเขต หน้าที่ของแต่ละระบบ และผู้รับผิดชอบแต่ละระบบในระดับหน่วยงาน

: KQI & KRI CU Quality Model ตัวชี้วัดคุณภาพ (Key Quality Indicator) ตัวชี้วัดความเสี่ยง (Key Risk Indicator) Key Quality Indicator Key Risk Indicator 15KQI & 8KRI 18KQI 10KRI 20KQI & 4KRI

วิธีการตรวจ ตรวจแฟ้มและเอกสาร ถ้าพบจุดบกพร่องแต่ไม่มาก ให้ Finding Sheet ถ้าพบข้อควรปรับปรุง ให้ ใบ CAD ตรวจทุกหน่วยงาน (ถึงระดับภาควิชา)

จากอดีต...สู่ปัจจุบัน ในปี 2551 สกอ. กำหนดชุดตัวชี้วัด สกอ. และให้เริ่มตรวจกับข้อมูลรอบปีการศึกษา 2550 เป็นต้นมา ต่อมาในปี 2552 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้พัฒนาระบบประกันคุณภาพ CU-QA 84 โดยลด-รวม ตัวชี้วัด โดยบางตัว มหาวิทยาลัยดำเนินการให้ จากตัวชี้วัด KQI+KRI 6 ฐาน 29 ตัวชี้วัด เอาออก 8 มหาวิทยาลัยดำเนินการให้ 4 ตัวชี้วัดที่เหลือ มหาวิทยาลัยเทียบเคียงกับตัวชี้วัด สกอ.ให้อีก 9 ตัว (เก็บข้อมูลทีเดียว ตรวจได้ 2 ระบบ)

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก.พ.ร. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย CU-QA สกอ. คณะxxx คณะอักษร สมศ.

ระบบประกันคุณภาพในปัจจุบัน และจำนวนตัวชี้วัด CU-QA (4 เสา 6 ฐาน) 4 เสา การเรียนการสอน การวิจัย บริการวิชาการ (23) บริการและสนับสนุน (24) 6 ฐาน ก.บริหารจัดการหน่วยงาน (6)  (4) ก.บริหารสารสนเทศและความรู้(4)(3) ก.บริหารสินทรัพย์และกายภาพ (2) ก.บริหารทรัพยากรบุคคล (6)  (5) ก.บริหารงบประมาณและการเงิน (3) (2) ก.ตรวจติดตามการป้องกันและการรับมือ (8)->(5) ฐาน 29  21 ตัว + 2 เสา สกอ. (9 องค์ประกอบ) ปรัชญา ปณิธาน ฯ (2) การเรียนการสอน (13) กิจกรรมพัฒนานิสิตฯ (2) การวิจัย (5) การบริการวิชาการแก่สังคม (5) การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม (3) การบริหารและการจัดการ (9) การเงินและงบประมาณ (2) ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ (3) รวม 44 41 ตัวชี้วัด (++) ข้อมูลสถิติพื้นฐาน CDS (Common Dataset) 174 ตัว

จำนวนตัวชี้วัด ผู้รับตรวจ CU-QA (4 เสา 6 ฐาน) 4 เสา 6 ฐาน การเรียนการสอน การวิจัย บริการวิชาการ (23) บริการและสนับสนุน (24) 6 ฐาน ก.บริหารจัดการหน่วยงาน (6)  (4) ก.บริหารสารสนเทศและความรู้(4)(3) ก.บริหารสินทรัพย์และกายภาพ (2) ก.บริหารทรัพยากรบุคคล (6)  (5) ก.บริหารงบประมาณและการเงิน (3) (2) ก.ตรวจติดตามการป้องกันและการรับมือ (8)->(5) ฐาน 29  21 ตัว + 2 เสา ผู้รับตรวจ ภาควิชา/หน่วยงานที่มีหลักสูตร ศูนย์บริการวิชาการ ศูนย์การแปล หอพระไตรปิฎก หน่วยงานในส่วนกลางคณะ วางแผน, ประกัน (รวบรวมจากทุก นง.), มหาวิทยาลัย การเงิน ประกัน (รวบรวมจากทุก นง.), ศูนย์คอมฯ มหาวิทยาลัย, การเงิน การเงิน บุคคล ประกันฯ มหาวิทยาลัย การเงิน วางแผน ประกันฯ มหาวิทยาลัย ทุกเสา-ฐาน ต้องรายงานข้อมูลในรายงานประจำปีทุกปี แต่ในแต่ละปี จะตรวจ 2 เสา/ฐาน

จำนวนตัวชี้วัด ผู้รับตรวจ สกอ. (9 องค์ประกอบ) ปรัชญา ปณิธาน ฯ (2) การเรียนการสอน (13) กิจกรรมพัฒนานิสิตฯ (2) การวิจัย (5) การบริการวิชาการแก่สังคม (5) การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม (3) การบริหารและการจัดการ (9) การเงินและงบประมาณ (2) ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ (3) รวม 44 41 ตัวชี้วัด (++) ข้อมูลสถิติพื้นฐาน CDS (Common Dataset) 174 ตัว วางแผน วิชาการ กิจการนิสิต วิจัย ศูนย์บริการวิชาการ กิจการนิสิต บริหาร บริหาร/วางแผน ประกันคุณภาพ

ข้อมูลที่ตรวจ ข้อมูลสถิติพื้นฐาน (CDS) ข้อมูลตัวชี้วัด (KPI) คะแนนส่วนหนึ่งมาจากข้อมูลพื้นฐาน อีกส่วนหนึ่งมาจากเอกสารหลักฐาน จำนวนตัวชี้วัด SDA จำนวนหลักสูตร จำนวนนิสิต จำนวนอาจารย์ จำนวนเงินวิจัย / publication จำนวน citation จำนวนโครงการบริการวิชาการ จำนวนกิจกรรมสำหรับนิสิต จำนวนกิจกรรมศิลปวัฒนธรรม งบประมาณและการใช้จ่าย ปรัชญา ปณิธาน ฯ (2) [cds 1 ตัว] การเรียนการสอน (13) [cds 8 ตัว] กิจกรรมพัฒนานิสิตฯ (2) [cds 1 ตัว ใช้ประกอบ] การวิจัย (5) [cds 3 ตัว] การบริการวิชาการแก่สังคม (4) [cds 3 ตัว] การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม (1) การบริหารและการจัดการ (9) [cds 1 ตัว] การเงินและงบประมาณ (2) ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ (3) 41 ตัวชี้วัด (++) 174 ตัว

ข้อมูลที่ตรวจที่มาจากภาควิชา/หน่วยงาน

ข้อมูลที่ตรวจที่มาจากภาควิชา/หน่วยงาน

เริ่มใช้ 1 มิถุนายน 2552 29

ภาควิชา / หน่วยงานอื่นๆ สามารถตรวจสอบข้อมูลได้จากเว็บไซต์คณะฯ

ประสิทธิภาพของข้อมูลที่รวบรวม

ข้อมูลระบบ Daily KPI เริ่ม 1 มิ.ย. 53 กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ 400 รายการ เป็นข้อมูลจากที่ภาควิชารายงานใน Daily KPI เป็นข้อมูลจากเทวาลัย 149/400 = 37.25% ภาควิชาตรวจสอบในต้นเดือน มิ.ย. แล้วส่งข้อมูลเพิ่มมา 9.25% ประชุมวิชาการ 170 รายการ เป็นข้อมูลจาก เทวาลัย 56/170 = 32.94%

ข้อมูลระบบ Daily KPI เริ่ม 1 มิ.ย. 53 กิจกรรม 214 รายการ เป็นข้อมูลจากที่ภาควิชารายงานใน Daily KPI เป็นข้อมูลจากเทวาลัย 16/214 = 7.47% เป็นข้อมูลจากเว็บฝ่ายโสต 40/214 = 18.69% การจัดบรรยาย/ประชุมวิชาการ 100 รายการ เป็นข้อมูลจากเทวาลัย 17/100 = 17% เป็นข้อมูลจากเว็บฝ่ายโสต 34/100 = 34%

ข้อมูลระบบ Daily KPI เริ่ม 1 มิ.ย. 53 ปัญหา ข้อมูลไม่ครบ จำนวนคนเข้าร่วมกิจกรรม อาจจะทำ Template ใบเซ็นต์ชื่อ เนื่องจากต้องแยกจำนวนนิสิต ป.ตรี – บัณฑิตศึกษา จำนวนอาจารย์ กรณีมีบุคคลภายนอก ต้องระบุด้วยว่าเป็นศิษย์เก่า หรือบุคคลภายนอกทั่วไป กรณีเป็นการประชุมวิชาการระดับชาติ-นานาชาติ ต้องนับแยกเป็น นักวิชาการไทย-จุฬา ไทย-อื่นๆ นักวิชาการต่างชาติที่เข้าร่วม ด้วย

วิธีการตรวจประกันคุณภาพ 38

ระหว่างปิดเทอม รวบรวมข้อมูล CDS หน่วยงานเจ้าภาพของมหาวิทยาลัย บันทึกข้อมูลในระบบฐานข้อมูลการประกัน คุณภาพ ให้ก่อน ส่วนที่มีข้อมูล เมื่อบันทึกแล้ว จะให้คณะยืนยันข้อมูล หรือ ขอแก้ไขข้อมูลได้โดยแสดงหลักฐาน ส่วนที่ไม่มีข้อมูล จะให้คณะป้อนข้อมูล เปิดเทอม สัปดาห์ที่ 1-2 คณะตรวจสอบข้อมูล ยืนยันข้อมูล และป้อนข้อมูลส่วนที่เจ้าภาพไม่มี

เมื่อคณะตรวจสอบข้อมูลเรียบร้อยแล้ว เจ้าภาพจะตรวจสอบข้อมูล CDS ทุกตัวอีกครั้งหนึ่ง มหาวิทยาลัยสั่ง RUN รายงานการประเมินตนเอง โดย นำ CDS มาคำนวณคะแนน KPI ให้คะแนน 1 , 2 , 3 เป็น KPI ของมหาวิทยาลัย คณะสั่ง RUN รายงานการประเมินตนเอง โดยนำ CDS มาคำนวณคะแนน KPI ให้คะแนน 1 , 2 , 3 เป็น KPI ของคณะ KPI ตัวที่ไม่ได้เกิดจากผลของ CDS คณะจะต้องรวบรวมเอกสารมาแนบในระบบ และประเมินตนเองว่าได้กี่ข้อ โดยระบบจะคำนวณให้ว่าได้กี่คะแนน Export ข้อมูลออกมาเป็น Microsoft Word จัดทำเป็นรายงานประเมินตนเองให้ผู้ตรวจ Export CDS ออกมาแนบท้าย สั่ง run รายงาน ส.1-4

การเตรียมเอกสารหลักฐานสำหรับการตรวจ ไฟล์ข้อมูล CDS และหลักฐาน KPI ถูกแนบหรือ Scan ไว้ ในระบบฐานข้อมูลเพื่อการประกันคุณภาพของมหาวิทยาลัย ข้อมูลบางส่วนที่มีรายละเอียดมาก จะไม่ Scan แนบในระบบ แต่จะระบุเป็นชื่อแฟ้ม โดยจะเตรียมแฟ้มที่ระบุไว้ในวันตรวจ ข้อมูลหลักฐานที่มีไฟล์แนบ ฝ่ายประกันคุณภาพคณะ ได้นำมาแนบใน ไฟล์รายงานประเมินสำหรับผู้ตรวจด้วย ดังนั้น ผู้ตรวจจึงได้ไฟล์รายงานประเมินตนเอง และไฟล์หลักฐานประกอบ เว้นแต่บางรายการที่ผู้ตรวจต้องมาขอดูเอกสารในวันตรวจ ไฟล์เหล่านี้ ฝ่ายประกันคุณภาพ มอบให้แก่ผู้ตรวจใน Thumb drive

ต้องจัดแฟ้มหรือไม่?

จัดแฟ้ม เก็บเอกสารเข้าแฟ้มตามปกติ เอกสาร อาจารย์ได้รับเชิญ ไปเสนอผลงาน อบรม การปรับปรุงหลักสูตร กิจกรรมพัฒนานิสิต ข้อมูลความเป็นนานาชาติ ฯลฯ เอกสารที่ต้องมีตามตัวชี้วัดใน CU-CQA*** คณะฯ รับรายงานมาบันทึกไว้ สำหรับจำแนกกิจกรรม ตามดัชนีชี้วัดตัวต่างๆ และ จำแนกตามปีการศึกษาและ ปีงบประมาณเอง ข้อมูลบางส่วนจะรวบรวม จากส่วนกลาง คณะฯ จะส่งข้อมูลที่รวบรวม ไว้ให้ตรวจสอบ เมื่อสิ้นภาคการศึกษา/ ใกล้ตรวจประกัน ภาควิชา/หน่วยงาน สำเนาเอกสารเข้า-เอกสารส่งออก ที่เป็นหลักฐาน และเก็บเข้าแฟ้ม ซึ่งกำหนดรหัสเป็นมาตรฐาน กรอกแบบฟอร์มรายงาน daily log ซึ่งจะรายงาน การให้บริการวิชาการ อาจารย์ได้รับรางวัล เป็นกรรมการ ได้รับเชิญ ฝึกอบรม ฯลฯ ส่งคณะฯ

การตรวจประเมินคุณภาพหลักสูตรแบบใหม่ 54

การตรวจประกันคุณภาพหลักสูตร CU-CQA เสาวิชาการ AUN Asian University Network

ตรวจประกันคุณภาพหลักสูตร

ตรวจประกันคุณภาพหลักสูตร แบบใหม่

ขั้นตอนการตรวจประเมินคุณภาพหลักสูตร ผู้รับผิดชอบ ขั้นตอนการดำเนินงาน เอกสารที่เกี่ยวข้อง คณะกรรมการตรวจ ประเมินคุณภาพหลักสูตร -เอกสารประเมินตนเอง -เอกสารที่เกี่ยวข้อง -CU-CQA-SD-01 -CU-CQA-FM-008 (1) ตรวจสอบเอกสารเบื้องต้น คณะกรรมการตรวจ ประเมินคุณภาพหลักสูตร (2) ตรวจประเมินคุณภาพ ณ พื้นที่หลักสูตร -เอกสารประเมินตนเอง -เอกสารที่เกี่ยวข้อง -CU-CQA-SD-01,02,03,04 -CU-CQA-FM-006,007 -CU-CQA-FM-008,009,010 (3) รายงานผลการตรวจประเมิน คุณภาพหลักสูตร -CU-CQA-FM-008,009,010,011 คณะกรรมการตรวจ ประเมินคุณภาพหลักสูตร

การตรวจหลักสูตรแบบใหม่ เตรียมเอกสารตาม CU-CQA เวลาผู้ตรวจมา จะตรวจโดยตั้งคำถามตามลำดับใน AUN (แบบใหม่) ตรวจแฟ้ม ตรวจเอกสารหลักฐาน เช่นเดิม ผลการตรวจเป็นคะแนน ระดับ 1-7 ปีนี้ เริ่มให้ตรวจกับหลักสูตรที่ไม่มีการปรับปรุง 10 ปี ปีหน้า เริ่มตรวจกับหลักสูตรที่ไม่มีการปรับปรุง 5 ปี

ระดับคะแนน 7 ระดับ Score Value Interpretation Quality & Improvement Interpretation 1 Nothing (no document, no plans, no evidence) present Absolutely inadequate, immediate improvements must be made 2 This subject is in the planning stage Inadequate, improvements necessary 3 Documents available, but no clear evidence that they are used Inadequate, but minor improvements will make it adequate 4 Documents available and evidence that they are used Adequate as expected 5 Clear evidence on the efficiency of the aspect Better than adequate 6 Example of good practice 7 Excellent