เงินงบประมาณจังหวัดสตูล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ.2554 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2554.
สัดส่วนงบประมาณ (ประจำ, ลงทุน, เหลื่อมปี) คงเหลือ : เบิกจ่าย กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ 30 เมษายน 2552 งบประจำทั้งกระทรวง 57.14% สพฉ % สวรส %
เงินงบประมาณจังหวัดสตูล
มติ ครม. วันที่ 21 กันยายน 2553 ไตรมาส ที่ เป้าหมายอัตรา การเบิกจ่าย รายจ่ายลงทุน สะสม ณ สิ้นไตร มาส (%) เป้าหมายอัตรา การเบิกจ่ายรายจ่าย ภาพรวมสะสม ณ.
สัดส่วนงบประมาณ (ประจำ, ลงทุน, เหลื่อมปี) คงเหลือ : เบิกจ่าย กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ 30 มิถุนายน 2552 งบประจำทั้งกระทรวง 73.87% สพฉ % สวรส %
สัดส่วนงบประมาณ (ประจำ, ลงทุน, เหลื่อมปี) คงเหลือ : เบิกจ่าย กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ 31 มกราคม 2552 งบประจำทั้งกระทรวง 32.20% สพฉ % สวรส %
มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ
สัดส่วนงบประมาณ (ประจำ, ลงทุน, เหลื่อมปี) คงเหลือ : เบิกจ่าย กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ 30 เมษายน 2553 งบประจำทั้งกระทรวง 57.58% สพฉ % สปสช %
งป. ทั้งหมด งป. เบิกจ่าย สวรส. วิท ย์ แพทย์สุขภา พจิต สบ ส. อนา มัย คร.คร. พัฒนฯอย , , ,061.3.
เงินงบประมาณจังหวัดสตูล
เงินงบประมาณจังหวัดสตูล
ไตรมาส ที่ เป้าหมายอัตรา การเบิกจ่าย รายจ่ายลงทุน สะสม ณ สิ้นไตร มาส (%) เป้าหมายอัตรา การเบิกจ่ายรายจ่าย ภาพรวมสะสม ณ สิ้นไตรมาส (%)
ไตรมาส ที่ เป้าหมายอัตรา การเบิกจ่าย รายจ่ายลงทุน สะสม ณ สิ้นไตร มาส (%) เป้าหมายอัตรา การเบิกจ่ายรายจ่าย ภาพรวมสะสม ณ สิ้นไตรมาส (%)
ผอ. สำนัก สถาปัตยกรรม (1/2) กลุ่มงาน สถาปัตยกรรม ข้าราชการ พนักงาน ราชการ 11 ลูกจ้างประ จำ -- กลุ่มงานงานตรวจสอบงาน สถาปัตยกรรมและงานกำหนด มาตรฐาน.
ไตรมาส ที่ เป้าหมายอัตรา การเบิกจ่าย รายจ่ายลงทุน สะสม ณ สิ้นไตร มาส (%) เป้าหมายอัตรา การเบิกจ่ายรายจ่าย ภาพรวมสะสม ณ สิ้นไตรมาส (%)
ข้อมูล การ จัดเก็บ รายได้ ปีงบประมาณ หน่วย : ล้าน บาท ,20 0 1,50 0 1,80 0 ก. ค. 55 ก. ค. 56 ก. ค. 56 เป้าห มาย จัดเก็บ ได้ปีนี้ จัดเก็บ.
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
แนวทางการบริหารงบค่าเสื่อม ปีงบประมาณ 2556
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
สำเร็จการศึกษาในเวลา 4 ปี
ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2554 (ต.ค ธ.ค. 2553)
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
สถานการณ์การเงินการคลัง
วิเคราะห์งบประมาณ ยศ.ทร. งป.56 ในไตรมาสที่2
สัดส่วนงบประมาณ (ประจำ, ลงทุน, เหลื่อมปี) คงเหลือ : เบิกจ่าย กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ 31 กรกฎาคม 2552 งบประจำทั้งกระทรวง 82.38% สพฉ % สวรส %
สัดส่วนงบประมาณ (ประจำ, ลงทุน, เหลื่อมปี) คงเหลือ : เบิกจ่าย กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ 31 มีนาคม 2553 งบประจำทั้งกระทรวง 49.31% สพฉ % สวรส %
1 2 ตามลักษณะ เศรษฐกิจ งบประมา ณ ตาม พ. ร. บ. ( ล้าน บาท ) ได้รับ จัดสรร ( ล้าน บาท ) เบิกจ่าย ร้อย ละ / งบ จัดสร ร สำนัก ชลประทานที่ 13 1,164,64 0,305.
การขอเบิกเงินนอกงบประมาณ
เป้าเบิกจ่าย งบรวม เป้าเบิกจ่าย งบลงทุน งบรวม เบิกจ่าย.
รายงานผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณปี 2556 สำนักการคลังและสินทรัพย์
1 รายงานผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณปี 2556 ณ วันที่ 29 ม.ค สำนักการคลังและสินทรัพย์
รายงานผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
ผลการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี 2555 ฎีกา 1 –64 31 มกราคม 2555
เงินงบประมาณจังหวัดสตูล
ไตรมาส ที่ เป้าหมายอัตรา การเบิกจ่าย รายจ่ายลงทุน สะสม ณ สิ้นไตร มาส (%) เป้าหมายอัตรา การเบิกจ่ายรายจ่าย ภาพรวมสะสม ณ สิ้นไตรมาส (%)
Page 1. Page 2 ไตรมาส ที่ เป้าหมายอัตรา การเบิกจ่าย รายจ่ายลงทุน สะสม ณ สิ้นไตร มาส (%) เป้าหมายอัตรา การเบิกจ่ายรายจ่าย ภาพรวมสะสม ณ สิ้นไตรมาส (%) 1.
งบประมาณ ปี 2554 งบรายจ่าย งบประมาณ ผูกพัน เบิกจ่าย คงเหลือ ร้อยละ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน ที่มีต่อการบริหารงานของรัฐบาล
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
งานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2551
การใช้จ่ายเงินงบประมาณประจำปี พ. ศ.2553 สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม สำนักบริหารกลาง 11 สิงหาคม 2553 ณ วันที่ 11 สิงหาคม
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
หมวด รายจ่าย รวม 9, , , , , , , งบ บุคลากร 4, , ,
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยล่าสุด (ณ เดือนตุลาคม) และแนวโน้มไตรมาส 3/50 และ 4/50
สัดส่วนงบประมาณ (ประจำ, ลงทุน, เหลื่อมปี) คงเหลือ : เบิกจ่าย กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ 31 มกราคม 2553 งบประจำทั้งกระทรวง 39.09% สพฉ % สวรส %
ดัชนี. Th ai CI MyMy MLSVPh BRBR 4. สัดส่วน ระหว่าง แรงงาน ฝีมือ และไร้ ฝีมือ 16 % (20 06) 26 % (20 07) 80 % (20 09) % (20 07) %
ผลการดำเนินงานประจำปี สำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 มีนาคม 2553 ปรากฎ ดังนี้ รายการ ปีสิ้นสุด เพิ่ม ณ 31 มี. ค 53 ณ 31 มี. ค 52 - ลด 1. สมาชิก 3,544 คน 3,064.
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ วันที่ มิถุนายน คะแนน ระดับดีมาก.
สัดส่วนงบประมาณ (ประจำ, ลงทุน, เหลื่อมปี) คงเหลือ : เบิกจ่าย กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ 31 พฤษภาคม 2553 งบประจำทั้งกระทรวง 65.87% สพฉ % สวรส %
สัดส่วนงบประมาณ (ประจำ, ลงทุน, เหลื่อมปี) คงเหลือ : เบิกจ่าย กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ 29 พฤษภาคม 2552 งบประจำทั้งกระทรวง 65.34% สพฉ % สวรส %
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ธันวาคม 2553 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สรุปผลสัมฤทธิ์ปีการศึกษา 2552 ชั้ น จำนว นสาระการเรียนรู้ นักเรี ยนทค ค. เพิ่มวสพ.พ. ศ.ศ. ดน ตรีง.ง. คอ ม. อ อ. เพิ่ม ป.1ป
มูลค่าคำขอรับการส่งเสริมในเดือน ม. ค. 56 เพิ่มขึ้น 2 %
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
วาระที่ รายงานภาวการณ์ลงทุนในช่วง 5 เดือนแรก ปี 2556.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
ผลงานการพัฒนาระบบข้อมูล บริการผู้ป่วยนอก และสร้าง เสริมสุขภาพป้องกันโรค OP/PP Individual Data ปี 2556.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ตุลาคม 2553 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
มูลค่าคำขอรับการส่งเสริมตั้งแต่เดือน ม. ค. - ก. พ. 56 ลดลง 7 %
แผนภูมิแสดงแผนและผลการใช้จ่ายงบประมาณปี 2549 การใช้ จ่าย ( สะสม ) ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค. ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค. ก.ค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เงินงบประมาณจังหวัดสตูล รายงานผลการเบิกจ่าย เงินงบประมาณจังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553

การเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนสะสม ณ สิ้นไตรมาส การเบิกจ่ายรายจ่ายภาพรวมสะสม เป้าหมายการเบิกจ่ายปีงบประมาณ พ.ศ.2553 (มติ ครม.เมื่อวันที่ 29 กันยายน 2552) ไตรมาสที่ เป้าหมายอัตรา การเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนสะสม ณ สิ้นไตรมาส (%) การเบิกจ่ายรายจ่ายภาพรวมสะสม ณ สิ้นไตรมาส 1 12.00 20.00 2 33.00 43.00 3 56.00 68.00 4 75.00 94.00

สรุปผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณจังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553 (หน่วย : ล้านบาท) งบประมาณ เบิกจ่าย ร้อยละ รายจ่ายประจำ 2,497.56 2,422.22 96.98 รายจ่ายลงทุน 1,148.24 1,023.01 89.09 ภาพรวม 3,645.80 3,445.23 ที่มา : ข้อมูลจากระบบ GFMIS ถึง วันที่ 24 ก.ย. 2553 94.50

ผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณจังหวัด (33.75 ล้านบาท) (33.75 ล้านบาท) ที่มา : ข้อมูลจากระบบ GFMIS ถึง วันที่ 24 ก.ย. 2553 (หน่วย : ล้านบาท) งบประมาณ เบิกจ่าย ร้อยละ 33.75 24.28 71.94

เป้าหมายการเบิกจ่ายเงินงบไทยเข้มแข็ง(TKK) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553 (มติ ครม. เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2552)ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 100.00 ของวงเงินตามแผนที่ได้รับอนุมัติให้ดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553

ผลการเบิกจ่ายเงินงบไทยเข้มแข็งจังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553 ผลการเบิกจ่ายเงินงบไทยเข้มแข็งจังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553 (หน่วย : ล้านบาท) งบประมาณ เบิกจ่าย ร้อยละ รายจ่ายประจำ 623.03 345.40 55.44 รายจ่ายลงทุน 1,048.56 743.69 70.92 ภาพรวม 1,671.59 1,089.09 65.15 ที่มา : ข้อมูลจากระบบ GFMIS ถึง วันที่ 24 ก.ย. 2553

โครงการแก้ไขปัญหาหนี้สินภาคประชาชน (หนี้นอกระบบ)

รายงานผลการดำเนินงานของจังหวัดสตูล (หน่วย : ล้านบาท) จำนวนลูกหนี้(คน) คิดเป็นร้อยละ มูลหนี้ จำนวนลูกหนี้ทั้งหมด 4,197 100.00 472.09 เจรจาสำเร็จ 2,186 52.08 230.14 เจรจาไม่สำเร็จ 772 18.40 85.16 ยุติเรื่อง 1,089 25.95 121.96 คงเหลือ 150 3.57 34.84 กู้ได้ 856 รายเป็นเงิน 86.57 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 39 ของการเจรจาสำเร็จ ที่มา : ข้อมูล ณ วันที่ 28 ก.ย. 2553

ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดสตูล Gross Provincial Product of Satun ปี พ.ศ.2551 Gross Provincial Product of Satun

กราฟแสดงโครงสร้างการผลิตรายสาขาปี 2551 โครงสร้างผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดสตูล ในปี 2551 พิจารณาจากสัดส่วนมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาประจำปีของจังหวัดสตูล ประกอบด้วยภาคการผลิตที่สำคัญ ได้แก่ สาขาเกษตรกรรมฯ มีสัดส่วนร้อยละ 34.00 สาขาประมง มีสัดส่วนร้อยละ 15.49 สาขาอุตสาหกรรมมีสัดส่วนร้อยละ 9.46 และอื่นๆ รวมกัน มีสัดส่วนร้อยละ 41.05

มูลค่าเพิ่ม(ล้านบาท) ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดสตูล(GPP)   มูลค่าเพิ่ม(ล้านบาท) อัตราการขยายตัว โครงสร้าง 2548 2549 2550 2551 มูลค่าเพิ่ม ณ ราคาประจำปี ภาคเกษตร 7,949.99 9,433.33 9,717.30 9,517.48 18.66 3.01 -2.06 44.92 50.87 50.02 49.49 ภาคนอกเกษตร 9,746.51 9,110.14 9,711.29 9,713.96 -6.53 6.6 0.03 55.08 49.13 49.98 50.51 ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด(GPP) 17,696.50 18,543.47 19,428.58 19,231.44 4.79 4.77 -1.01 100 รายได้ต่อหัว 65,058 67,190 69,359 68,655 3.28 3.23 -2.37 ประชากร(1,000 คน) 272 276 280 284 มูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ 6,199.64 10,151.13 9,095.25 8,590.88 63.74 -10.4 -5.55 42.88 55.57 52.71 52.03 8,257.91 8,115.58 8,160.40 7,920.02 -1.72 0.55 -2.95 57.12 44.43 47.29 47.97 14,457.55 18,266.71 17,255.65 16,510.91 26.35 -5.53 -4.32 19,231.44 ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดสตูล ปี 2551 พิจารณาจาก ณ ราคาประจำปี มีมูลค่า เท่ากับ 19,231.44 ล้านบาท ลดลงจาก 19,428.58 ล้านบาท ในปีที่ผ่านมา 197.14 ล้านบาท หากพิจารณาจากอัตราการขยายตัวของมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ หดตัว ร้อยละ 4.32 จากการหดตัวร้อยละ 5.53 ในปีที่ผ่านมา เป็นผลมาจากการหดตัวของภาคเกษตรในอัตราร้อยละ 5.55 ขณะที่ภาคนอกเกษตรหดตัวในอัตราร้อยละ 2.95 -4.32

มูลค่าเพิ่ม ณ ราคาประจำปี

ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดสตูล(GPP) สาขาการผลิต มูลค่าเพิ่ม(ล้านบาท) อัตราการขยายตัว โครงสร้าง 2548 2549 2550 2551 ภาคเกษตร 7,949.99 9,433.33 9,717.30 9,517.48 18.66 3.01 -2.06 44.92 50.87 50.02 49.49 เกษตรกรรม การล่าสัตว์ 5,762.75 7,146.35 7,226.05 6,539.07 24.01 1.12 -9.51 32.56 38.54 37.19 34.00 การประมง 2,187.24 2,286.99 2,491.25 2,978.41 4.56 8.93 19.55 12.36 12.33 12.82 15.49 ภาคนอกเกษตร 9,746.51 9,110.14 9,711.29 9,713.96 -6.53 6.60 0.03 55.08 49.13 49.98 50.51 การเหมืองแร่และเหมืองหิน 26.32 46.53 59.63 12.90 76.80 28.15 -78.36 0.15 0.25 0.31 0.07 การผลิตอุตสาหกรรม 1,132.55 1,615.66 1,670.15 1,818.66 42.66 3.37 8.89 6.40 8.71 8.60 9.46 การไฟฟ้า ก๊าซและประปา 217.16 232.98 260.68 279.10 7.29 11.89 7.07 1.23 1.26 1.34 1.45 การก่อสร้าง 419.23 538.83 525.20 514.82 28.53 -2.53 -1.97 2.37 2.91 2.70 2.68 การขายส่ง การขายปลีก ฯ 1,360.71 1,246.41 1,594.48 1,287.21 -8.40 27.93 -19.27 7.69 6.72 8.21 6.69 โรงแรมและภัตตาคาร 2,130.63 267.12 288.07 331.32 -87.46 7.84 15.01 12.04 1.44 1.48 1.72 การขนส่ง สถานที่เก็บสินค้าฯ 373.40 463.76 485.25 24.20 4.64 0.00 2.11 2.50 2.52 ตัวกลางทางการเงิน 380.40 424.73 492.36 536.35 11.65 15.92 8.94 2.15 2.29 2.53 2.79 บริการด้านอสังหาริมทรัพย์ฯ 1,278.54 1,442.45 1,301.73 1,231.31 -9.76 -5.41 7.22 7.78 6.70 การบริหารราชการแผ่นดิน ฯ 1,032.69 1,228.00 1,307.09 1,361.16 18.91 6.44 4.14 5.84 6.62 6.73 7.08 การศึกษา 961.22 1,122.48 1,182.44 1,266.65 16.78 5.34 7.12 5.43 6.05 6.09 6.59 การบริการด้านสุขภาพฯ 339.86 380.46 404.61 441.93 11.95 6.35 9.22 1.92 2.05 2.08 2.30 การให้บริการด้านชุมชนฯ 81.65 92.43 125.60 127.10 13.21 35.89 1.19 0.46 0.50 0.65 0.66 สาขาลูกจ้างในครัวเรือนฯ 12.16 8.31 13.99 20.19 -31.66 68.40 44.24 0.04 0.10 ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด(GPP) 17,696.50 18,543.47 19,428.58 19,231.44 4.79 4.77 -1.01 100 รายได้ต่อหัว 65,058 67,190 69,359 68,655 3.28 3.23 -2.37   ประชากร(1,000 คน) 272 276 280 284 ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดสตูล(GPP) 9,517.48 9,713.96 ภาคเกษตร : มูลค่าเพิ่ม ณ ราคาประจำปีของการผลิตภาคเกษตร ในปี 2551 เท่ากับ 9,517.48 ล้านบาท ลดลงจาก ปีที่ผ่านมา เท่ากับ 199.82 ล้านบาท ภาคนอกเกษตร : มูลค่าเพิ่ม ณ ราคาประจำปีของการผลิตภาคนอกเกษตร ในปี 2551 เท่ากับ 9,713.96 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา เท่ากับ 2.67 ล้านบาท ผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อหัว (GPP Per Capita): ค่าเฉลี่ยต่อหัวของประชากร ในปี 2551 เท่ากับ 68,655บาท/คน หดตัวร้อยละ 2.37 จากที่ขยายตัวร้อยละ 3.23 ในปีที่ผ่านมา 68,655

มูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่

มูลค่าเพิ่ม(ล้านบาท) สาขาการผลิต มูลค่าเพิ่ม(ล้านบาท) อัตราการขยายตัว โครงสร้าง 2548 2549 2550 2551 ภาคเกษตร 6,199.64 10,151.13 9,095.25 8,590.88 63.74 -10.40 -5.55 42.88 55.57 52.71 52.03 เกษตรกรรม การล่าสัตว์ 3,420.89 6,850.21 5,478.47 4,784.65 100.25 -20.02 -12.66 23.66 37.50 31.75 28.98 การประมง 2,778.75 3,300.93 3,616.78 3,806.24 18.79 9.57 5.24 19.22 18.07 20.96 23.05 ภาคนอกเกษตร 8,257.91 8,115.58 8,160.40 7,920.02 -1.72 0.55 -2.95 57.12 44.43 47.29 47.97 การเหมืองแร่และเหมืองหิน 9.67 7.85 7.79 4.44 -18.85 -0.76 -43.00 0.07 0.04 0.05 0.03 การผลิตอุตสาหกรรม 1,218.71 1,495.53 1,654.02 1,718.44 22.71 10.60 3.89 8.43 8.19 9.59 10.41 การไฟฟ้า ก๊าซและประปา 201.68 227.01 244.76 260.07 12.56 7.82 6.25 1.39 1.24 1.42 1.58 การก่อสร้าง 330.00 415.30 388.45 399.37 25.85 -6.46 2.81 2.28 2.27 2.25 2.42 การขายส่ง การขายปลีก ฯ 1,680.10 1,649.16 1,173.02 1,026.74 -1.84 -28.87 -12.47 11.62 9.03 6.80 6.22 โรงแรมและภัตตาคาร 897.55 191.60 221.94 255.39 -78.65 15.84 15.07 6.21 1.05 1.29 1.55 การขนส่ง สถานที่เก็บสินค้าฯ 293.57 302.72 510.93 306.83 3.12 68.78 -39.95 2.03 1.66 2.96 1.86 ตัวกลางทางการเงิน 349.63 378.21 430.01 449.21 8.17 13.69 4.47 2.07 2.49 2.72 บริการด้านอสังหาริมทรัพย์ฯ 1,186.58 1,203.42 1,196.52 1,176.39 -0.57 -1.68 8.21 6.59 6.93 7.12 การบริหารราชการแผ่นดิน ฯ 885.29 976.54 1,009.65 980.31 10.31 3.39 -2.91 6.12 5.35 5.85 5.94 การศึกษา 827.00 874.52 889.23 900.08 5.75 1.68 1.22 5.72 4.79 5.15 5.45 การบริการด้านสุขภาพฯ 295.13 303.51 311.75 321.50 2.84 2.71 3.13 2.04 1.81 1.95 การให้บริการด้านชุมชนฯ 70.06 79.23 108.62 103.78 13.09 37.09 -4.45 0.48 0.43 0.63 สาขาลูกจ้างในครัวเรือนฯ 12.94 10.98 13.72 17.48 -15.13 24.97 27.38 0.09 0.06 0.08 0.11 ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด(GPP) 14,457.55 18,266.71 17,255.65 16,510.91 26.35 -5.53 -4.32 100.00 ดัชนีราคาผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด 122.40 101.52 112.59 116.48 -17.06 10.91 3.45 -5.55 -2.95 ภาคเกษตร : อัตราการขยายตัวของมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ หดตัวร้อยละ 5.55 เมื่อเทียบกับ ปี 2550 ที่หดตัวร้อยละ 10.40 เป็นผลมาจากสาขาเกษตรกรรม การล่าสัตว์ และ การป่าไม้ หดตัวร้อยละ 12.66 เนื่องจากผลผลิตยางพาราซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจของจังหวัดลดลง สำหรับสาขาประมง ชะลอตัวร้อยละ 5.24 จากที่ขยายตัวร้อยละ 9.57 เนื่องจากการผลิตในกิจกรรมทำฟาร์มเลี้ยงกุ้งทะเล ซึ่งเป็นกิจกรรมหลักของสาขา ชะลอตัวในอัตราร้อยละ 9.83 ภาคนอกเกษตร :อัตราการขยายตัวของมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ หดตัวร้อยละ 2.95 เมื่อ เทียบกับปี 2550 ที่ขยายตัวร้อยละ 0.55 เป็นผลมาจากกิจกรรมการผลิตที่สำคัญชะลอตัว ได้แก่ สาขาอุตสาหกรรม ชะลอตัวร้อยละ 3.89 ในขณะที่สาขาขายส่ง ขายปลีก และสาขาบริหารราชการฯ หดตัวร้อยละ 12.47 และ 2.91 ตามลำดับ ดัชนีราคาผลิตภัณฑ์จังหวัด(GPP Implicit Deflator) ชะลอตัวร้อยละ 3.45 จากการขยายตัว ร้อยละ 10.91 ในปีที่ผ่านมา เนื่องจากดัชนีราคาภาคเกษตรชะลอตัวร้อยละ 3.69 จากการชะลอตัวของหมวดการเกษตรกรรม การล่าสัตว์ฯ ร้อยละ 3.62 ขณะที่ดัชนีราคาหมวดการประมงเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.60 และดัชนีราคาภาคนอกเกษตรเพิ่มขึ้น ร้อยละ 3.06 3.45

สำนักงานคลังจังหวัดสตูล กรมบัญชีกลาง www.cgd.go.th สำนักงานคลังจังหวัดสตูล http://klang.cgd.go.th/stn E-mail : stn@cgd.go.th โทร : 0-7471-1064