ระบบทะเบียนเว็บเซอร์วิสสาธารณะแห่งประเทศไทย Thailand Public UDDI Registry นายอัศวิน คำภูแสน นายเกษม นาคาภรณ์ธรรม อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร. กานดา สายแก้ว อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน อ. ภาณุพงษ์ วันจันทึก ผศ. อนัตต์ เจ่าสกุล COE2007-02
หัวข้อที่จะนำเสนอ ที่มาของโครงการ 1 กราฟเวลาการทำงาน 2 การออกแบบอินเทอร์เฟส 3 งานที่ได้ปฏิบัติจริง 4 แผนงานที่จะทำในอนาคต 5 COE2007-02
UDDI Registry Bind Publisher Service consumer ที่มาของโครงการ UDDI Registry เมื่อConsumer ต้องการค้นหาว่ามีเว็บเซอร์วิสใดบ้างที่เปิดให้บริการ หรือ Publisher ต้องการเผยแพร่เว็บเซอร์วิส Consumer ก็จะต้องทำการค้นหาในเว็บเพจต่างๆ ซึ่งเป็นสิ่งไม่สะดวกที่ consumer จะสามารถหา service ที่ publisher สร้างขึ้นได้ Publisher ก็เพียงแต่ไปลงทะเบียนเว็บเซอร์วิสเอาไว้ UDDI ทำงานโดยการเข้าไปดึงข้อมูลจาก Database เกี่ยวกับ ธุรกิจ(Business)และ Service ที่ธุรกิจให้บริการ มาให้ Consumer เลือกใช้งาน Bind Publisher Service consumer COE2007-02
ประโยชน์ของ UDDI Registry ผู้พัฒนาเซอร์วิส ผู้ที่เรียกใช้เซอร์วิส COE2007-02
ส่วนที่ดำเนินการเสร็จแล้ว กราฟเวลาการทำงาน งาน มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ค้นหาข้อมูล ติดตั้งเครื่องมือที่ใช้ ออกแบบและจัดทำ flow ออกแบบอินเทอร์เฟส ระบบของผู้ใช้ ระบบของผู้ดูแลระบบ ทดสอบการใช้งาน จัดทำรายงาน ส่วนที่ดำเนินการเสร็จแล้ว ส่วนที่วางแผนเอาไว้ 2550 2551 COE2007-02
งานที่ได้ปฏิบัติจริง ศึกษาโครงสร้างของ UDDI และข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 1 ศึกษาการติดตั้ง jUDDI ลงบน JBOSS server 2 ติดตั้ง jUDDI ลงในระบบ 3 ศึกษา UDDI4J API 4 ออกแบบอินเทอร์เฟสสำหรับผู้ใช้ทั่วไป และผู้ดูแลระบบ 5 COE2007-02
งานที่ได้ปฏิบัติจริง ติดตั้ง Jboss สำเร็จ ติดตั้ง jUDDI สำเร็จ COE2007-02
Java EE Application Server (Jboss 4.0) สถาปัตยกรรมของ UDDI Web Application (JSP) UDDI Client Application Java EE Framework RMI/IIOP SOAP SOAP EJB UDDI Registry Service แบ่งออกเป็น 3 ส่วนใหญ่ๆด้วยกัน ก็คือ database,application server,user application โดยที่ตัว database ที่ใช้งานก็คือ mysql ส่วนตัว application server จะใช้ jboss 4.0 ซึ่งบริการของแอพพลิเคชั่นที่จะเรียกใช้งานนั้น สามรถเรียกได้ผ่าน 2 protocol โดยการที่จะเรียกใช้ผ่านโปรโทคอล rmi จะต้อใช้ ejb ซึ่งเป็นแอพพลิเคชั่นฝั่ง server เรียกใช้งานให้อีกที โดย ejb เป็นตัวช่วยลดความซับซ้อนในการเรียกใช้ application ในการเข้าถึงบริการของ UDDI APIจะมีการเรียกใช้งานไลบรารี่ UDDI4J ซึ่งจะทำหน้าที่ ในการติดต่อกับ UDDI แอพพลิเคชั่น ผ่านทางโปรโตคอล SOAP และนอกจากนี้ API ที่ออกแบบจะต้องมีความสามารถในการวิเคราะห์เอกสาร WSDL ที่ผู้ให้บริการเว็บเซอร์วิสนำมาลงทะเบียน ซึ่งจะใช้ไลบรารี่ WSDL4J ในการวิเคราะห์เอกสาร WSDL และฝั่ง user application จะใช้ jsp ในการพัฒนาอินเทอร์เฟส Remote method invocation over internet inet-ORB protocol Java EE Application Server (Jboss 4.0) UDDI Database COE2007-02
ภาพรวมของระบบ ระบบจะมีการแบ่งผู้ใช้เป็น 3 ส่วน ผู้พัฒนาเว็บเซอร์วิส (Publisher), ผู้ใช้ทั่วไป (Searcher), ผู้ดูแลระบบ เมนูหลัก ๆ ประกอบด้วย การค้นหาเว็บเซอร์วิส ค้นหาจากชื่อองค์กรผู้พัฒนาเซอร์วิส ค้นหาจากชื่อเซอร์วิส สถิติ เว็บเซอร์วิสที่เยี่ยมชมมากที่สุด การลงทะเบียน การลงทะเบียนเว็บเซอร์วิส ผู้ดูแลระบบ การจัดการข้อมูลต่าง ๆ ของผู้พัฒนาเว็บเซอร์วิส และเซอร์วิส COE2007-02
การออกแบบอินเทอร์เฟส การค้นหาเว็บเซอร์วิสจากข้อมูลขององค์กร API สำหรับผู้ใช้ทั่วไป ก็จะมีการค้นหาและดูรายละเอียดของ business service binding และ tmodel โดยได้นำตัวอย่างการค้นหา business มาดังนี้ COE2007-02
การออกแบบอินเทอร์เฟส การดูสถิติเว็บเซอร์วิสที่มีการเยี่ยมชมมากที่สุด COE2007-02
การออกแบบอินเทอร์เฟส การลงทะเบียนผู้ประกาศเว็บเซอร์วิส API สำหรับ publisher ก็จะมีการเพิ่ม ลบ และแก้ไขข้อมูลของ business และ service โดยได้นำตัวอย่างการลบ business มาดังนี้ COE2007-02
การออกแบบอินเทอร์เฟส การจัดการข้อมูลโดยผู้ดูแลระบบ COE2007-02
แผนงานที่จะทำในอนาคต เขียน UDDI4J ลงใน JSP เพื่อทดสอบ 1 ประยุกต์รวมอินเทอร์เฟสกับ UDDI4J ให้ทำงานด้วยกันได้ 2 COE2007-02
COE2007-02