การเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของระบบบัณฑิตศึกษา 14 กุมภาพันธ์ 2550.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักเกณฑ์ วิธีการกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
Advertisements

ข้อมูล แหล่งทุนการศึกษา.
ตัวอย่างการทำ และการเขียน PDCA ในเรื่องของการเรียน การสอน
แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ ด้านการเรียนการสอน
มุมปัญหาและไขข้อข้องใจ
1 การประเมินคุณภาพ ภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานจัดการเรียนการสอน โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน หน่วยงาน
การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร กำแพงแสน
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2552 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ผศ.ดร. ม.ร.ว. กัลยา ติงศภัทิย์ รองอธิการบดี 30 มกราคม 2555
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา
หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา
คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การประมวลและประเมินความก้าวหน้าทางวิชาการ
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Ph.D. (Thai Theatre and Dance) at CHULA
MA (Thai Dance) at CHULA
รายละเอียดข้อมูลทั่วไป
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
ปฏิทินการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยฯ
ผลการประเมินคุณภาพภายใน ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์
การประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ คุณภาพชมรมนักศึกษา / ชมรมบัณฑิต มสธ.
ยินดีต้อนรับ คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
27 ตุลาคม 2551 ณ ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย
ศึกษาโครงงานพิเศษ (Study Project) 1/2557
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การประชุมคณะกรรมการพัฒนาตัวบ่งชี้เพื่อการ
การประชุมผู้ประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2556 ครั้งที่ 1/2556 วันที่ 18 ตุลาคม
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเกณฑ์ฯ
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบบัณฑิตศึกษา
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลาน ครินทร์ 23 มิถุนายน 2552.
Workshop การจัดการความรู้
การพัฒนาโปรแกรมระบบสารสนเทศสำหรับอาจารย์ที่ปรึกษา
มาตรฐานหลักสูตรปริญญาเอก สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ศาสตราจารย์ ดร. ปราณี กุลละ วณิชย์ 29 มีนาคม 2550.
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
1 (ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน ) ว่าด้วยการเสนอ และการพิจารณาอนุมัติโครงการ.

1. ชื่อสถาบัน ให้ระบุชื่อ สถาบันการศึกษา คณะวิชา และภาควิชาที่เปิดสอน หลักสูตร 2. ชื่อหลักสูตร ให้ระบุชื่อ หลักสูตรและสาขาวิชาให้ ชัดเจน แบบรายงานข้อมูลการ.
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
กลุ่มที่ 2 ผู้ปฏิบัติงานด้านการประกันคุณภาพ
1 การประเมิน คุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน เขตการศึกษา วันที่
การประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานสนับสนุน
1. ผู้บริหารและคณะกรรมการชุด ต่างๆ มีความมุ่งมั่นในการจัดทำ ระบบบริหารคุณภาพอย่างต่อเนื่อง และมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ใน ระบบบริหารคุณภาพอย่างสม่ำเสมอ.
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
หมวดที่ 2 การลงทะเบียนเรียน
งานธุรการ กองการบริหารงานบุคคล
กระบวนการประกันคุณภาพ ภาควิชาการพยาบาลพื้นฐาน
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ประกาศต่างๆที่ออกให้สอดคล้องกับข้อบังคับฯบัณฑิตศึกษา
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
SWOT งานการเงินและบัญชี
คำนิยามและขั้นตอนการเสนอหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา
CMU: UNIVERSITY OF EXCELLENCE
การขอตำแหน่งทางวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร. ปานสิริ พันธุ์สุวรรณ
การประกันคุณภาพที่นักศึกษาควรรู้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
งานกิจการนิสิต
ยินดีต้อนรับ อาจารย์และ นักศึกษาผู้สนใจ. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม ชั้น 4 อาคารเฉลิมพระ เกียรติ 72 พรรษา โทร
การปรับเปลี่ยนผลักดันการพัฒนาด้านทรัพยากรบุคคล: Measures and Drives of Personnel work load กลุ่มที่ 2.1 ประธานกลุ่ม/ผู้นำเสนอ ผศ.ดร.อุดมศักดิ์ เห่วซึ่งเจริญ.
แนวปฏิบัติที่ดีของ การประกันคุณภาพ การศึกษา. ที่องค์ประกอบ ผลการประเมิน ปี 52 ปี 53 ปี 54 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผน ดำเนินการ
ตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษา
โครงการจัดตั้งสายวิชาบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของระบบบัณฑิตศึกษา 14 กุมภาพันธ์ 2550

หัวข้อ  การบริหารจัดการตามระเบียบ 2549  การแต่งตั้งอาจารย์  ประจำหลักสูตร อาจารย์ที่ ปรึกษาหลัก อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม อาจารย์ผู้สอน อาจารย์พิเศษ ผู้เชี่ยวชาญ  ขั้นตอนการรับนักศึกษา  การส่งแบบ บว. ต่างๆ  ขั้นตอนก่อนสำเร็จการศึกษา  การทำ วิทยานิพนธ์ การให้ grade การขอสอบ การแต่งตั้ง กรรมการสอบ การแจ้งผลการสอบ  ขั้นตอนสำเร็จการศึกษา

 การนำเสนอหลักสูตร  ทำอย่างไรจึงจะเร็ว  งบประมาณสนับสนุนการทำวิทยานิพนธ์

ขั้นตอนการขึ้นทะเบียนอาจารย์ ระดับบัณฑิตศึกษา  ปัจจุบัน บว. มีข้อมูลเดิมของคณะอยู่ แล้ว  บว. ส่งข้อมูลเดิมให้คณะ update ปีละ 2 ครั้ง คือ เดือน เมษายน และ ตุลาคม ของทุกปี

คณะและบว. ร่วมกัน ตรวจสอบการ ดำเนินงานเป็น ระยะๆ

ขั้นตอนการจัดทำหลักสูตร  หลักสูตรใหม่  หลักสูตรเก่า หลักสู ตร คณะ บว. สภา วิชาการ สภามหาวิทยาลัย สกอ. หลัก คิด คณะ ผ่านบว. สภา วิชาการ สภา มหาวิทยาลัย สกอ หลักสู ตร

ขั้นตอนการนำเสนอหลักสูตรใหม่ 1. แต่งตั้ง ผู้ทรงคุณวุฒิ 2. จัดทำหลักสูตร โดยภาควิชา 3. ผ่านการพิจารณา โดยกรรมการคณะ 4. ผ่านการพิจารณา โดยกรรมการ บว. 5. ผ่านการพิจารณา โดยสภาวิชาการ 6. แจ้งสภา มหาวิทยาลัยเพื่อ ทราบ หากเป็น ป. เอก แจ้งเพื่อ พิจารณา 7. แจ้ง สกอ.

การปรับปรุงหลักสูตร  ปรับปรุงทุก 5 ปี ไม่ต้องจัดทำหลักคิด 1. แต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิ 2. จัดทำหลักสูตรโดยภาควิชา 3. ผ่านการพิจารณาโดยกรรมการคณะ 4. ผ่านการพิจารณาโดยกรรมการ บว. 5. ผ่านการพิจารณาโดยสภาวิชาการ 6. แจ้งสภามหาวิทยาลัยเพื่อทราบ 7. แจ้ง สกอ.

ปัญหาของการจัดทำหลักสูตร  อาจารย์และฝ่ายสนับสนุนที่ทำหน้าที่ มัก หมุนเวียนกันมาทำ จึงขาดความเข้าใจที่ ต่อเนื่อง ( รู้น้อยเกินไป )  ผู้จัดทำหลักสูตร เข้าใจว่าจนเองรู้เรื่อง ( รู้มาก เกินไป )  การเปิดและการปรับปรุง ไม่วางแผนล่วงหน้า  กรรมการคณะ หรือ กรรมการ บว. บางท่าน ไม่ เข้าใจขั้นตอนการพิจารณา  ไม่ให้ความสำคัญกับ template  การสื่อสารที่ผิดพลาด

การพิจารณาหลักสูตร  บว. และ คณะ ดูแลเรื่อง รูปแบบ  กรรมการ บว. พิจารณาประเด็น 1. ปรัชญาและวัตถุประสงค์ 2. จุดขาย หรือ ความเด่น 3. จะบริหารหลักสูตร และดูแลอาจารย์ นักศึกษาอย่างไร เพื่อให้บรรลุ วัตถุประสงค์

ถาม - ตอบ  ระเบียบ 49 มีผลบังคับใช้เมื่อไร ตอบปีการศึกษา 2549  เงื่อนไขการสำเร็จการศึกษาของนักศึกษา ปริญญาโท แผน ก 2 ตอบ นักศึกษา 49 ใช้ระเบียบ 49 ( ต้องมี proceeding) นักศึกษา 48 ใช้ตามประกาศของ สกอ. ( ต้องมี proceeding) นักศึกษา ใช้ระเบียบ 45 ( ไม่บังคับ เรื่อง proceeding แต่ต้องไปเสนอผลงาน )

 องค์ประกอบของกรรมการสอบ ตอบ ใช้ระเบียบ 49  มติกรรมการบัณฑิตศึกษาประจำคณะ หลังวันที่ 15 ตุลาคม 2549 ถือว่าโมฆะหรือไม่ ตอบ ไม่  องค์ประกอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ตอบ คณะสามารถกำหนดได้เอง  คณะกรรมการบริหารหลักสูตร 1 ชุด ทำหน้าที่ บริหารหลักสูตรมากกว่า 1 หลักสูตรได้หรือไม่ ตอบ แต่ละหลักสูตรต้องมีผู้รับผิดชอบหลักสูตร ที่แยกกัน หากคณะกรรมการบริหาร ประกอบด้วยผู้รับผิดชอบหลักสูตรครบทุก หลักสูตร ก็สามารถบริหารทุกหลักสูตรได้

ทุน  บว. ต้องได้รับการจัดสรรงบประมาณจากมหาวิทยาลัย  บว. มีเงินรายได้จาก ค่าสมัครเท่านั้น  ที่ผ่านมาจัดสรรเงินออกไปทั้งหมด ปีต่อปี ไม่มีการ คงเหลือไว้ที่ บว.  ระบบการจัดสรร - จัดสรรตามคุณภาพ โดยส่ง reviewer ปัญหา : ช้า ขาด reviewer เฉพาะสาขา เรื่องที่ส่งเพื่อ รับทุน กับเรื่องที่ทำวิทยานิพนธ์ เป็นคนละเรื่องกัน - จัดสรรตามเงื่อนไขที่อาจารย์และนักศึกษาร่วมกัน พิจารณา ปัญหา : ขาดการสื่อสารระหว่างอาจารย์และนักศึกษา ไม่ทำตามเงื่อนไข