การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ ของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 โดยใช้สถานการณ์จำลอง กิติพร โกมลารชุน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
Advertisements

พัฒนศักดิ์ จิณะวงค์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การใช้เกมการศึกษาในการพัฒนาทักษะการจดจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 2 สาขายานยนต์ (ชย.2101) วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Brain- Based Learning ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3/1 สาขาการขาย.
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรูปแบบการจำลอง การอ่านค่าเวอร์เนียคาลิปเปอร์ วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น ระดับชั้น ปวช.1.
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 2 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ ผู้วิจัย ถาวร ประรงค์ทอง.
นางสาวอ้อมใจ ยิ้มสอาด แผนกการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
นายภิรักษ์ คำศรี ชื่อผลงานวิจัย : ชื่อผู้วิจัย :
----- ชื่อเรื่องวิจัย การศึกษาการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดของนักเรียนในรายวิชาคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2.
นางสาวปุณณภา ฉัตรเดชาพล
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
น.ส.วันวิสาข์ วรรณภิระ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ

ประเภทการเรียนการสอน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง ศึกษาการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาเศรษฐศาสตร์โดยใช้แบบฝึกทักษะการท่องจำเบื้องต้นของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ผู้วิจัย.
วิจัยเรื่อง ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
นางลัดดาวรรณ คงพูล อาจารย์ประจำสาขาวิชาสามัญและพื้นฐาน
จำเริญ ติ่งต้อย วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
LOGO.  สำหรับผู้ที่เรียนในสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจนั้น หลักการ เขียนโปรแกรมเป็นอีกรายวิชาหนึ่งที่ผู้เรียนต้องมีความรู้และ ความเข้าใจ เพื่อให้ในการพัฒนาโปรแกรมและเพื่อนำไป.
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
นางสาวดาราพร รังรักษ์
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
ปัญหาการวิจัย พบว่า การเรียนรู้โดยใช้ตำรา ผู้เรียนไม่สนใจเนื่องจากผู้เรียน โดยส่วนใหญ่จะศึกษาค้นคว้าหา ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตเป็นส่วน ใหญ่ ผู้วิจัยจึงได้พัฒนาบทเรียน.

ชื่อผู้วิจัย ณัฐฌา แรกขึ้น สถานศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนา พณิชยการเชียงใหม่
ชื่อเรื่องวิจัย: พัฒนาการของการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ
การใช้โครงงานภาษาอังกฤษ เรื่อง
นายศุภพล มงคลเจริญพันธ์
ชื่อเรื่องวิจัย การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้แบบฝึกวิชาภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารในงานอาชีพเรื่อง Present Simple.
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้หนังสืออ่านนอกเวลา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่1 แผนกเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่องวิจัย : การพัฒนาศักยภาพทางความคิดในการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ปวส.2 แผนกเคมีอุตสาหกรรม ปีการศึกษา 2555 ชื่อผู้วิจัย : นางสาวปัทมาวรรณ แสวงผล.
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียน วิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 โดยใช้สื่อ Power Pointของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ในรายวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ ด้วยวิธี เพื่อนช่วยเพื่อน ผู้วิจัย นาง นุสรา ปิยะศาสตร์ ตำแหน่ง ครูผู้สอน วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา.
การใช้แบบฝึกทักษะเกม Spelling Bee เพื่อพัฒนาความสามารถในการสะกด คำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 (ปวช.1) สาขา เทคนิคคอมพิวเตอร์

สมเกียรติ์ คุณหอม วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
โดย อาจารย์ วิลาวัณย์ ลีลารัตน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
นางสุภาภรณ์ หงษ์ สุวรรณ วิทยาลัย อาชีวศึกษาดุสิต พณิชยการ นำเสนอ ประเภทที่ 1 วิจัยการเรียนการ สอน ( วิจัยชั้นเรียน ) นำเสนอ การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน.
กิจกรรมการเรียนการสอน ที่หลากหลาย เพื่อเพิ่ม ผลสัมฤทธิ์ในการเรียน วิชา กฎหมายแรงงานและ การประกันสังคม ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชการ
วิธีการแก้ปัญหาการอธิบายกลไกลการทำงานเกียร์ขับเคลื่อนล้อหลัง 5 สปีด
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ ของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 โดยใช้สถานการณ์จำลอง กิติพร โกมลารชุน

ขาดทักษะการพูดภาษาอังกฤษ ปัญหาป ขาดทักษะการพูดภาษาอังกฤษ ขาดความ มั่นใจ พูดผิดหลัก ไวยากรณ์ ไม่กล้า แสดงออก ออกเสียงผิด

ผลสัมฤทธิ์วิชาภาษาอังกฤษต่ำ ผลที่ตามมา ผลสัมฤทธิ์วิชาภาษาอังกฤษต่ำ

วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษาและพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ ของนักศึกษา โดยการใช้สถานการณ์จำลอง

กรอบแนวคิดในการวิจัย เนื้อหาการเรียนการสอน วิชาภาษาอังกฤษเพื่อการโรงแรม การจัดกระบวนการฝึกทักษะการพูดภาษาอังกฤษโดยใช้สถานการณ์จำลอง ผู้เรียนเกิดการพัฒนาทักษะ การพูดภาษาอังกฤษอย่างมีประสิทธิภาพ

ตาราง 1 เลขที่ ผลรวมคะแนนระหว่างเรียนในแต่ละแผน รวมประเมินทักษะการพูดระหว่างเรียน (64) แผนที่ 1 แผนที่ 2 แผนที่ 3 แผนที่ 4 แผนที่ 5 แผนที่ 6 แผนที่ 7 แผนที่ 8 คะแนนทักษะการพูด 8 คะแนน คะแนนใบงาน 10 คะแนน คะแนนใบงาน 5 คะแนน รวม 171 229 133 233 189 204 173 92 143 76 190 107 203 113 200 122 1402 X 6.1 8.18 4.75 8.32 6.75 7.29 6.18 3.29 5.11 2.71 6.79 3.82 7.25 4.04 14.3 4.36 50.1 ร้อยละ 12.2   9.48 13.5 12.3 10.2 13.6 14.5 78.2 ประสิทธิภาพของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (E1 /E2) 78.23/79.66

ตาราง 2 เลขที่ คะแนนก่อนเรียน คะแนนหลังเรียน ผลต่าง (D) 1 28 56 2 36 60 24 3 25 62 37 4 59 31 5 30 61.5 31.5 6 21 63 42 7 32 65.5 33.5 8 20 63.5 43.5 9 15 65 50 10 64 39 11 40 12 34 61 27 13 35 14 29 34.5 62.5 28.5 16 22 66 44 เลขที่ คะแนนก่อนเรียน คะแนนหลังเรียน ผลต่าง (D) 17 27 65.5 38.5 18 34 66 32 19 31 69 38 20 33 63 30 21 36 61 25 22 39 65 26 23 46 68.5 22.5 24 64 41 62.5 21.5 45 40 28 68 เลขที่ คะแนนก่อนเรียน คะแนนหลังเรียน ผลต่าง (D) รวม 895 1784.5 889.5 X 31.96 63.75 31.76 ร้อยละ 38.75% 79.66% 40.91%

บรรยากาศในการใช้สถานการณ์จำลอง

สรุปผลการวิจัย จากการวิเคราะห์ข้อมูลการพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษา ระดับชั้น ปวส.2 แผนกการโรงแรมโดยใช้สถานการณ์จำลอง สามารถสรุปผลได้ว่า แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ เท่ากับ 78.23/79.66 แสดงว่า แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่สร้างขึ้นเพื่อพัฒนาทักษะการพูดมีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ 75/75

อภิปรายผล จากผลการวิจัยครั้งนี้ ประเด็นที่น่าสนใจและควรนำมาอภิปรายได้แก่ การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับ ปวส.2 แผนกการโรงแรม โดยใช้สถานการณ์จำลองมีประสิทธิภาพของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เท่ากับ 78.23/79.66 หมายความว่า นักศึกษาได้คะแนนเฉลี่ยจากการประเมินความสามารถการพูดภาษาอังกฤษระหว่างเรียน ทั้ง 8 แผน คิดเป็นร้อยละ 78.23 และคะแนนเฉลี่ยประเมินความสามารถการพูดภาษาอังกฤษหลังเรียน คิดเป็นร้อยละ 79.66 แสดงว่าแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ โดยใช้สถานการณ์จำลอง มีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ คือ 75/75 มีผลทำให้การเรียนรู้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัดเจน

ขอบคุณครับ