ผู้วิจัย อาจารย์เรวดี นาวินวิจิต การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ 2 เรื่อง การพิมพ์จดหมายธุรกิจภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ผู้วิจัย อาจารย์เรวดี นาวินวิจิต
ปัญหา นักเรียน ผลสัมฤทธิ์ต่ำกว่าเกณฑ์ นักเรียนไม่สามารถจัดรูปแบบฟอร์มจดหมายแบบต่าง ๆ ได้ นักเรียน ผลสัมฤทธิ์ต่ำกว่าเกณฑ์
วัตถุประสงค์ - เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนและหลังการใช้แบบฝึกปฏิบัติ เรื่อง การพิมพ์จดหหมายธุรกิจภาษาอังกฤษ
แบบฝึกพิมพ์จดหมายธุรกิจภาษาอังกฤษ กรอบแนวคิด ตัวแปรต้น แบบฝึกพิมพ์จดหมายธุรกิจภาษาอังกฤษ ตัวแปรตาม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ 2 เรื่องการพิมพ์จดหมายธุรกิจภาษาอังกฤษ
ขอบเขตการวิจัย ประชากร นักเรียนปวช. 2 กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำในรายวิชาพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ 2 จำนวน 6 คน
วิธีการดำเนินการวิจัย ในคาบเรียนผู้สอนกำหนดให้อาศัยการฝึกปฏิบัติเป็นหลัก และใช้การจำโดยยึดจากชุดที่นิยมใช้ในปัจจุบันเป็นหลักและจำในจุดที่ต่างกันในแต่ละแบบฝึกปฏิบัติ มีการใช้เกมการจับผิดภาพมาช่วยเสริมการเรียนรู้ในเรื่องการจำ พร้อมให้พิมพ์จดหมายธุรกิจ จัดรูปแบบต่าง ๆ ให้เกิดความชำนาญเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนจำเป็นต้องเปิดฟอร์มจดหมายดูในขณะที่พิมพ์ได้ หรือเปิดดูรูปแบบฟอร์มลดลง
ขนาดของ กลุ่ม ตัวอย่าง ค่าความ เบี่ยงเบน มาตรฐาน ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การเรียนก่อนและหลังการใช้แบบฝึกปฏิบัติเรื่องการพิมพ์จดหมายธุรกิจภาษาอังกฤษ ของนักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ห้อง 3 จากการใช้แบบฝึกปฏิบัติ เรื่องการพิมพ์จดหมายธุรกิจภาษาอังกฤษ กลุ่ม ตัวอย่าง ขนาดของ กลุ่ม ตัวอย่าง ค่าเฉลี่ย ค่าความ เบี่ยงเบน มาตรฐาน t p n SD ก่อนใช้ หลังใช้ 6 6.83 17.17 1.47 0.75 2.109 0.5
ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล พบว่า คะแนนเฉลี่ยของคะแนนแบบฝึกการพิมพ์จดหมายก่อนเรียน ( = 6.83 ,S.D. = 1.47 และหลังเรียน ( = 17.17 , S.D.= 0.75 ) แตกต่างกันอย่างนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งแสดงให้เห็นว่านักเรียนที่ได้รับการฝึกโดยใช้แบบฝึกพิมพ์ของจดหมายมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
สรุปผลการวิจัย ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการพิมพ์จดหมาย นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 2 ก่อนทดลองและหลังทดลองเรียนโดยใช้แบบฝึกปฏิบัติการพิมพ์จดหมายธุรกิจภาษาอังกฤษแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ข้อเสนอแนะ ในการศึกษาวิจัยครั้งต่อไปอาจมีการวิจัยที่เกี่ยวกับความคงทนในการเรียนรู้หลังจากการใช้แบบฝึกปฏิบัติ
ประโยชน์ที่ได้จากการศึกษา 1. ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ 2 เรื่องการพิมพ์จดหมายธุรกิจภาษาอังกฤษ เพิ่มขึ้นหลังจากการใช้แบบฝึกทักษะการพิมพ์ 2. ผู้สอนได้พัฒนาแนวทางในการจัดการเรียนการสอนที่ส่งผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้
ขอบคุณค่ะ