ในการเลื่อนเงินเดือน 09 เม.ย. 60 ชุดที่ 2 การบริหารวงเงิน ในการเลื่อนเงินเดือน
วงรอบการเลื่อนเงินเดือน เลื่อนปีละ 2 ครั้ง รอบที่ 1 วันที่ 1 ต.ค. - 31 มี.ค. ปีถัดไป รอบที่ 2 วันที่ 1 เม.ย. - 30 ก.ย. ในปีเดียวกัน
การบริหารวงเงินงบประมาณ 09 เม.ย. 60 การบริหารวงเงินงบประมาณ กรอบวงเงินรวมไม่เกินร้อยละ 3 ต่อครึ่งปี กำหนดกรอบวงเงินเลื่อนเงินเดือนรายบุคคล ไม่เกินร้อยละ 6 ของฐานในการคำนวณ
ผู้บริหารวงเงินการเลื่อนเงินเดือน ผู้บริหารวงเงิน กลุ่มตำแหน่งที่บริหารวงเงิน กลุ่มที่ 1 รัฐมนตรี ปลัดกระทรวง อธิบดี กลุ่มที่ 2 ปลัดกระทรวง รองปลัดกระทรวง ผู้ตรวจราชการระดับกระทรวง ปลัดกระทรวง และอธิบดี รองอธิบดี
ผู้บริหารวงเงินการเลื่อนเงินเดือน (ต่อ) กลุ่มตำแหน่งที่บริหารวงเงิน 09 เม.ย. 60 ผู้บริหารวงเงินการเลื่อนเงินเดือน (ต่อ) ผู้บริหารวงเงิน กลุ่มตำแหน่งที่บริหารวงเงิน กลุ่มที่ 3 อธิบดี และ รองอธิบดี (ในส่วนของ สป. คือ ปลัดกระทรวง และ รองปลัดฯ) ประเภทอำนวยการ ประเภทวิชาการ และ ประเภททั่วไป (ทุกระดับในราชการบริหารส่วนกลาง และในราชการ บริหารส่วนกลางที่ตั้งในส่วนภูมิภาค รวมทั้งประเภท ทั่วไประดับทักษะพิเศษ ประเภทวิชาการ ระดับเชี่ยวชาญ และระดับทรงคุณวุฒิกับประเภทอำนวยการ ในส่วนภูมิภาค)
ผู้บริหารวงเงินการเลื่อนเงินเดือน (ต่อ) กลุ่มตำแหน่งที่บริหารวงเงิน กลุ่มที่ 4 ผู้ว่าราชการจังหวัด - ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ ระดับชำนาญการ และระดับชำนาญการพิเศษ - ประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน ระดับชำนาญงาน และระดับอาวุโส (ตำแหน่งในราชการบริหารส่วนภูมิภาค) ทั้งนี้ ผู้บริหารวงเงินอาจจัดสรรวงเงินให้หัวหน้าส่วนราชการที่ต่ำกว่าระดับกรม หรือหัวหน้าหน่วยงานในราชการบริหารส่วนภูมิภาค บริหารวงเงินของข้าราชการ ในสังกัดได้
ตามกฎ ก.พ.ว่าด้วยการเลื่อนเงินเดือน พ.ศ.2552 ฐานในการคำนวณและช่วงเงินเดือนสำหรับการเลื่อนเงินเดือนในแต่ละประเภทและระดับตำแหน่ง ตามกฎ ก.พ.ว่าด้วยการเลื่อนเงินเดือน พ.ศ.2552 (แนบท้ายหนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร 1008.1/ว11 ลงวันที่ 6 มิถุนายน 2554) ประเภทตำแหน่ง ระดับ ช่วงเงินเดือน ฐานในการคำนวณ อัตรา บริหาร สูง 64,740 – 69,810 บน 66,460 29,980 – 64,730 ล่าง 64,730 ต้น 59,360 – 67,560 63,460 24,400 – 59,350 57,320 อำนวยการ 48,420 – 63,960 56,190 24,400 – 48,410 48,190 40,390 – 54,090 47,240 19,860 – 40,380 33,520
ทรงคุณวุฒิ วิชาการ เชี่ยวชาญ ชำนาญการพิเศษ ชำนาญการ ปฏิบัติการ ประเภทตำแหน่ง ระดับ ช่วงเงินเดือน ฐานในการคำนวณ อัตรา วิชาการ ทรงคุณวุฒิ 56,820 – 69,810 บน 2 63,310 * 29,980 – 56,810 ล่าง 2 56,020 * 56,030 – 67,560 บน 1 61,630 29,980 – 56,020 ล่าง 1 56,020 เชี่ยวชาญ 47,090 – 62,760 บน 54,920 24,400 – 47,080 ล่าง 46,260 ชำนาญการพิเศษ 37,620 – 53,080 45,350 19,860 – 37,610 33,510 ชำนาญการ 27,350 – 39,630 33,490 13,160 – 27,340 22,220 ปฏิบัติการ 19,120 - 24450 21,780 7,140 – 19,110 16,440
ทั่วไป ทักษะพิเศษ อาวุโส ชำนาญงาน ปฏิบัติงาน 09 เม.ย. 60 ประเภทตำแหน่ง ระดับ ช่วงเงินเดือน ฐานในการคำนวณ อัตรา ทั่วไป ทักษะพิเศษ 55,500 - 62,760 บน 59,130 48,220 55,490 ล่าง 51,860 จพ.สส , น.เทคนิค น.ไฟฟ้า , น.โยธา อาวุโส 32,630 49,830 บน 2 41,230 * 15,410 32,620 ล่าง 2 29,550 * 29,560 37,830 บน 1 32,230 29,550 ล่าง 1 ชำนาญงาน 22,720 35,220 28,970 10,190 22,710 16,450 ปฏิบัติงาน 13,720 19,100 16,410 4,870 13,710 11,020 * สำหรับผู้ดำรงตำแหน่งในสายงานที่กำหนดไว้ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่งให้ได้รับเงินเดือนขั้นสูง หมายเหตุ เริ่มใช้ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2554
การจัดสรรวงเงินเลื่อนเงินเดือน แบ่งวงเงินสำหรับการเลื่อนเงินเดือนเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มตำแหน่งประเภทบริหาร กลุ่มตำแหน่งประเภทอำนวยการ กลุ่มตำแหน่งประเภทวิชาการ และทั่วไป
ตัวอย่าง 1 การบริหารวงเงินในระดับสำนัก/กอง/หน่วยงาน ตัวอย่าง 1 การบริหารวงเงินในระดับสำนัก/กอง/หน่วยงาน วงเงินที่ได้รับการจัดสรร 45,300 บาท ระดับการประเมิน คะแนน ร้อยละ จำนวน (คน) ดีเด่น 90 - 100 3.25 35 ดีมาก 80 – 89.99 2.2 2 ดี 70 – 79.99 - พอใช้ 60 – 69.99 ต้องปรับปรุง ต่ำกว่า 60 ไม่ได้เลื่อน รวม 37
ตัวอย่าง 2 การบริหารวงเงินในระดับสำนัก/กอง/หน่วยงาน ตัวอย่าง 2 การบริหารวงเงินในระดับสำนัก/กอง/หน่วยงาน วงเงินที่ได้รับการจัดสรร 45,300 บาท ระดับการประเมิน คะแนน ร้อยละ จำนวน (คน) ดีเด่น 90 - 100 4 2 (5%) ดีมาก 80 - 89.99 3 3 (8%) ดี 70 - 79.99 2.5 27 (73%) พอใช้ 60 - 69.99 1.5 5 (14%) ต้องปรับปรุง ต่ำกว่า 60 ไม่ได้เลื่อน - รวม 37 (100%)
ตัวอย่าง 3 การบริหารวงเงินในระดับสำนัก/กอง/หน่วยงาน ตัวอย่าง 3 การบริหารวงเงินในระดับสำนัก/กอง/หน่วยงาน วงเงินที่ได้รับการจัดสรร 45,300 บาท ระดับการประเมิน คะแนน ร้อยละ จำนวน (คน) ดีเด่น 90 - 100 2.5 - 4 - ดีเด่น 1 98 - 100 4 2 (5%) - ดีเด่น 2 95 - 97.99 3 3 (8%) - ดีเด่น 3 90 - 94.99 2.5 27 (73%) ดีมาก 80 - 89.99 1.5 5 (14%) ดี 70 - 79.99 - พอใช้ 60 - 69.99 ต้องปรับปรุง ต่ำกว่า 60 ไม่ได้เลื่อน รวม 37 (100%)
ตัวอย่าง การคำนวณเงินเพื่อเลื่อนเงินเดือน ตัวอย่าง การคำนวณเงินเพื่อเลื่อนเงินเดือน เงินเดือน 22,250 บาท ทั่วไป-ชำนาญงาน อัตราการเลื่อน จำนวนเงิน เงินที่ได้เลื่อน 6% 987 990 5% 822.50 830 4% 658 660 3% 493.50 500 2% 329 330 1% 164.50 170 35,220 22,720 22,710 10,190 28,970 16,450
ตัวอย่าง การคำนวณค่าตอบแทนพิเศษ ตัวอย่าง การคำนวณค่าตอบแทนพิเศษ เงินเดือน 35,000 บาท ทั่วไป-ชำนาญงาน อัตราการเลื่อน จำนวนเงิน เงินที่ได้เลื่อน 3% 869.10 35,220 22,720 22,710 10,190 28,970 รับเงินเดือน 35,220 - 35,000 = 220 บาท รับค่าตอบแทนพิเศษ 869.10 - 220 = 649.10 บาท 16,450
ตัวอย่าง การคำนวณค่าตอบแทนพิเศษ(เต็มขั้น) ตัวอย่าง การคำนวณค่าตอบแทนพิเศษ(เต็มขั้น) เงินเดือน 35,220 บาท ทั่วไป-ชำนาญงาน อัตราการเลื่อน ค่าตอบแทน (ปัดเศษ) 4.56% 1,321.032 1,321.03 3.55% 1,028.435 1,028.44 3.23% 935.731 935.73 2.55% 738.735 738.74 2.31% 669.207 669.21 1.88% 544.636 544.64 35,220 22,720 22,710 10,190 28,970 16,450
การแจ้งผลเลื่อนเงินเดือน อัตราร้อยละที่ได้รับการเลื่อน ฐานในการคำนวณ จำนวนเงินที่ได้รับการเลื่อน เงินเดือนที่ได้รับ