Physics in game development Course syllabus Physics in game development
ชื่อกระบวนวิชา รหัสวิชา 951302 ชื่อภาษาไทย : ฟิสิกส์ในการพัฒนาเกม ชื่อภาษาอังกฤษ : Physics in game development เงื่อนไขวิชาที่ต้องผ่านก่อน : 207187 ( ฟิสิกส์ 1) ลักษณะกระบวนวิชา : บรรยาย วัน/เวลาที่สอน : (sec.001) ห้อง 114, วันจันทร์- พฤหัสบดี เวลา11.00-12.30 น. เวลาติดต่อ : ทุกวันจันทร์เวลา 14.00-16.00 น.
คำอธิบายลักษณะกระบวนวิชา(Course Description) แนวคิดพื้นฐาน อัลกอริทึมเกี่ยวกับแรง อัลกอริทึมเกี่ยวกับจลศาสตร์ อัลกอริทึมเกี่ยวกับการชน อัลกอริทึมเกี่ยวกับการจำลองวัตถุแข็งเกร็ง อัลกอริทึมเกี่ยวกับวัตถุหลายชิ้นใน 3 มิติ และอนุภาค
วัตถุประสงค์ของกระบวนวิชา(Course Objective) 1. เข้าใจความสำคัญของการใช้ฟิสิกส์สำหรับการ พัฒนาเกม 2. ใช้หลักการฟิสิกส์มาเพื่อพัฒนาเกม ข้อที่ 1 วัดผลจากการสอบและการบ้าน ข้อที่ 2 วัดผลจากงานกลุ่ม
เค้าโครงกระบวนวิชา (Course Outline) สัปดาห์ที่ เนื้อหาที่สอน จำนวนชั่วโมง หมายเหตุ บรรยาย ปฏิบัติ 1 Introduction to Physics for game development 3 - 2 กฎของความน่าจะเป็นและการสุ่ม การเคลื่อนที่ 1 มิติ , กฎของนิวตัน 4 การเคลื่อนแบบวงกลม, การเคลื่อนที่แบบโปรเจ็คไตล์ 5 โมเมนตัม , การกระโดดภายในเกม 6 การระเบิดและความดัน 7 Intro to HTML5 and JavaScript 8 การเคลื่อนที่แบบหลบหลีกและไล่ล่า 9 การเช็คชนแบบวงกลมและสี่เหลี่ยม 10 Physic engine: Constrct2 11 Physic engine: Unity3D 12 Cloth simulation and wind force 13 3D Virtual world and Rigid body 14 Force and Controller 15 Project รวม 45
โครงงานเกม (Project) เป็นการประยุกต์ใช้หลักการทางฟิสิกส์พัฒนาเป็น โครงงานเกมโดยนักศึกษาสามารถใช้เครื่องมือใน การพัฒนาเกมขั้นสูง เช่น Unity3D, Construct2 , Adobe flash หรือ เครื่องมืออื่นๆ ได้ ครั้งที่ วัน เดือน ปี เนื้อหา หมายเหตุ 1 13 มิ.ย. 56 ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มทำโครงงาน - กลุ่มละ 5-7 คน - ส่งภายในคาบเรียน 2 24 มิ.ย. 56 ให้นักศึกษาเขียนรายละเอียดของโครงงานเกม ชนิด 2D หรือ 3D, แนวเกม หลักการฟิสิกส์ที่ใช้ - คะแนน 5% 3 25 ก.ค. 56 ส่ง Storyboard และผังการไหลของโปรแกรม 4 19 ส.ค. 56 ตรวจงานความก้าวหน้าของโครงงาน 5 16 ก.ย. 56 ส่งโครงงานเกมพร้อมนำเสนอ - คะแนน 15% แบ่งเป็น การนำเสนอ 5% และความสมบูรณ์ ของเกม 10 % ซึ่งวัดจาก Storyboard และผังการไหลของโปแกรม
วัสดุ อุปกรณ์ที่นักศึกษาควรเตรียม เนื้อหาที่ออกสอบ *สอบกลางภาค เนื้อหาตั้งแต่ สัปดาห์ที่ 1- 7 *สอบปลายภาค เนื้อหาตั้งแต่ สัปดาห์ที่ 8- 15 วัสดุ อุปกรณ์ที่นักศึกษาควรเตรียม 1.สมุด, ปากกา 2.เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
การวัดผลและประเมินผลของกระบวนวิชา ( / ) อิงเกณฑ์ สัดส่วนการให้คะแนน คะแนนเข้าชั้นเรียน 10 คะแนน (8) คะแนนการบ้าน 10 คะแนน (10) คะแนนสอบกลางภาค 25 คะแนน (7.5) คะแนนสอบปลายภาค 25 คะแนน (7.5) คะแนนโปรเจ็คกลุ่ม 30 คะแนน (18) รวม 100 คะแนน (51)
เกณฑ์การประเมิน ( / ) อิงเกณฑ์ เกณฑ์การประเมิน ( / ) อิงเกณฑ์ เกณฑ์การประเมิน A = ดีเยี่ยม (Excellent) B+ = ดีมาก (Very Good) B = ดี (Good) C+ = ดีพอใจ (Fairly Good) C = พอใช้ (Fair) D+ = อ่อน (Poor) D = อ่อนมาก (Very Poor) F = ตก (Failed)
กฎ กติกาและมารยาทในการเรียน นักศึกษาที่เข้าเรียนไม่ครบร้อยละ 80 จะไม่มีสิทธิ์สอบปลายภาค กติกา การเข้าห้องสายเกิน 10 นาทีถือเป็นการเข้าห้องสาย การมาสาย 2ครั้ง จะถูกนับเป็นขาดเรียน การเข้าห้องสายเกิน 15 นาที แต่งกายไม่สุภาพ ไม่อนุญาตให้เข้าห้องเรียน ห้ามใช้โทรศัพท์มือถือรวมทั้งอุปกรณ์พกพาขณะทำการเรียนการสอน มารยาท ขอความกรุณานักศึกษาปิดเสียงโทรศัพท์มือถือก่อนเข้าชั้นเรียน หากนักศึกษามีความจำเป็นต้องรับสายกรุณาออกจากห้องเรียนเพื่อสนทนา เพิ่มเติม นักศึกษาสามารถขอดูคะแนนการสอบย้อนหลังภายใน 30 ของภาคการศึกษา ถัดไป นับตั้งแต่วันเปิดภาคเรียนวันแรก
ตำราอ้างอิง 1. Ian Millington, Game Physics Engine Development, 2010. 2. GRANT PALMER, Physics for Game Programmers, 2005. 3. Jacob Deidelin, HTML5 Games creating Fun with HTML5, CSS3 and WebGL,2012.