จังหวัดยโสธร เลย หนองคาย กลุ่มที่ 5 บั้งไฟภูพญานาค จังหวัดยโสธร เลย หนองคาย
ชื่อโครงการ ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์หลังการเก็บเกี่ยวข้าวนาปี ดำเนินโครงการโดย กลุ่ม บั้งไฟภูพญานาค วิทยากร อาจารย์พรทิพา สุกใส ผู้ช่วยวิทยากร นาย ดิศพงษ์ อิ่มในธรรม ออ
รายชื่อกลุ่ม นายกมล ด้วงคำ นางสาววัชราภรณ์ จวนสาง นายกมล ด้วงคำ นางสาววัชราภรณ์ จวนสาง นางสาวทิพย์สุคนธ์ คุณเศรษฐ นางสาวอรุโณทัย ก้านจักร นางสาวศุภลักษณ์ โพธิ์เงิน นายประครองศักดิ์ โศกค้อ นายอิสระ กายขุนทด นายศักดิ์สิทธิ์ คำภาระ นายศราวุธ ศรีสว่างวงศ์ นายเอกมงคล กาวิจันทร์ นางสาวแสงเดือน ศรีสุพัฒน์ นายกัมปนาท เนธิบุตร นายทรงกรด พิมใจ นายทรงสิทธิ์ ศรีอาจ นายอภิรักษ์ ประสงค์สุข นายนรัตม รัตนติสร้อย นางสุดารัตน์ ทองมาก นายทีระศักดิ์ ยะหัวดง นางสาวเนาวรัตน์ รัตน์รองใต้ นางสาวศุภลักษณ์ นาสูงชน นายนพดล นิตยารส นางชนกานต์ ภาโนชิต นายวุฒินันท์ ไตรยางค์
วิสัยทัศน์ของจังหวัด วิสัยทัศน์ของจังหวัด วิสัยทัศน์จังหวัดยโสธร หนองคาย เลย วิสัยทัศน์ของจังหวัด ยโสธร(Vision) พัฒนาสังคมแก้ไขปัญหาความยากจนและยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต วิสัยทัศน์ของจังหวัดหนองคาย (Vision) เมืองน่าอยู่ ควบคู่การศึกษา วัฒนธรรมล้ำค่า เกษตรอุตสาหกรรมหลากหลาย วิสัยทัศน์ของจังหวัด เลย(Vision)เมืองในฝันของนักท่องเที่ยวและนักลงทุน ภายใต้การยั่งยืน
วิสัยทัศน์สำนักงานเกษตรจังหวัด จังหวัดยโสธร นำเกษตรอินทรีย์สู่สากล จังหวัดหนองคาย เกษตรกรเข้มแข็ง แหล่งบริการความรู้ มุ่งสู่เกษตรอินทรีย์ เพิ่มมูลค่าผลผลิต มีอาชีพที่มั่นคง จังหวัดเลย สินค้าเกษตรมีคุณภาพและปลอดภัย
ผลสัมฤทธิ์ เศรษฐกิจในท้องถิ่นดีขึ้น ลดการสูญเปล่าของพื้นที่เพาะปลูก ลดการย้ายถิ่นฐานของคนในพื้นที่ เกษตกรมีจิตสำนึกในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างคุ้มค่าและมีการจัดการบริหารเวลาอย่างมีประสิทธิภาพ
ผลลัพธ์ เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น 32,500 บาท/ราย รวมทั้งสิ้น 650,000 บาท เกษตรกรมีความสามารถด้านการจัดการบริหารพื้นที่ที่ใช้ทำกินให้เกิดประโยชน์สูงสุด เกษตรกรมีทางเลือกในการปลูกพืชหลากหลายมากขึ้นกว่าเดิม
ผลผลิต ได้ข้าวโพด 6.5 ตัน/10 ไร่/ราย เกษตรกรที่ผ่านการอบรมจำนวน 20 รายที่มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการนี้
กำหนดขั้นตอนการดำเนินงาน วางแผน คัดเลือกเกษตรกร ประชุมชี้แจง โครงการฯ ทำแผนการดำเนินงาน ถ่ายทอดความรู้ให้เกษตรกรเข้าร่วมโครงการ ดำเนินโครงการตามแผนงาน สรุปและติดตามประเมินผล
การมีส่วนร่วมของประชาชน มีการจัดระดมหุ้น มีการแลกเปลี่ยนความรู้ภายในกลุ่ม
อบรมให้ความรู้แก่เกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการ ดำเนินการปลูก วิธีการนำไปสู่การปฏิบัติ อบรมให้ความรู้แก่เกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการ ดำเนินการปลูก
กลยุทธ์หน่วยงานองค์กรภาครัฐบาล ตรงกับยุทธศาสตร์ของจังหวัดในการพัฒนาสังคมการแก้ไขปัญหาความยากจนและยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต
การเมือง ได้รับการสนับสนุนด้านงบประมาณจาก องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น(อปท.)/ผู้นำชุมชน ในด้านงบประมาณบริหารจัดการ มีการประชาสัมพันธ์และการรณรงค์จากภาครัฐบาล
สังคมการเกษตร มีความร่วมมือสามัคคีในชุมชน ผู้นำในชุมชนให้ความร่วมมือ
เศรษฐกิจ เศรษฐกิจมีสภาพคล่องดี ประชาชนมีรายได้เพียงพอต่อการเลี้ยงชีพ
เทคโนโลยี มีการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการผลิต
คน เกษตรกร วิทยากร ผู้นำท้องถิ่น นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร
เทคโนโลยี ได้มีการนำรถไถแทรคเตอร์,เครื่องหยอด,เครื่องสีและเทคโนโลยีอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องรวมถึงภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการผลิต
วัตถุดิบ เมล็ดพันธุ์ ปุ๋ย สารป้องกันกำจัดศัตรูพืช วัชพืช
เงิน ระดมหุ้นจากสมาชิก CEO /อบต/อบจ./กรม/อปท./สว สถาบันการเงิน หน่วยงานเอกชน สถาบันการเงิน รวม 330,000 บาท
จบการนำเสนอ ...
สวัสดี