โครงการ ลำไยสีทองล้านนา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดการผลการดำเนินงานองค์กร
Advertisements

โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามกุฎราชกุมาร นางลาวัลย์ ฉัตรวิรุฬห์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตร.
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน มกราคม 2552.
กลยุทธการผลิตและการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวของประเทศไทย
โครงการส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตร ในจังหวัดชายแดนภาคใต้
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน กุมภาพันธ์ 2552.
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
ศูนย์ข้าวชุมชนบ้านหมี่ ต.เขวา อ.เมือง จ.มหาสารคาม
โครงการส่งเสริมการปลูกปาล์มน้ำมันพันธุ์ดี
กลุ่มที่ 16 ชื่อกลุ่ม ทวารวดี
กลุ่มที่ 15 กลุ่ม ลูกน้ำเค็ม
สองเล TWOSEAS.
โครงการส่งเสริมการผลิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการผักปลอดภัยฯบันไดสู่ครัวโลก
กลุ่มที่ 1 เจริญบุรี จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดอำนาจเจริญ
กลุ่ม เก็บตะวัน กลุ่มที่ 5 กาญจนบุรี สมุทรสงคราม
กลุ่มที่ 13 มะขามทอง C.R.P. จังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา
จ.พะเยา จ.พิจิตร จ.พิษณุโลก จ.เพชรบูรณ์ จ.แพร่ จ.สุโขทัย จ.อุตรดิตถ์
กลุ่มที่ 7 บัวอุบล จังหวัดอุบลราชธานี สมาชิก 22 คน.
โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวปลอดภัย
กลุ่มที่ 16 ชื่อกลุ่ม สักงาม
แดนดอกลำดวน จังหวัดศรีสะเกษ.
โครงการ ส่งเสริมการผลิตข้าว ที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
กลุ่มสระปทุมสมุทรลพบุรี
โครงการ ส่งเสริมการผลิตข้าว ที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
กลุ่มลำปางหนา จังหวัดลำปาง กลุ่มที่ 14
กลุ่มที่ 7 ไก่บูรพา วิทยากร อ.พลภัทร วารี ผู้ช่วยวิทยากรสมชาย ชะฎาดำ.
สมาชิกกลุ่ม 6.
กลุ่ม ก.ส.น. จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดนนทบุรี
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
กลุ่มที่ 6 กลุ่ม วังบัว บาน จังหวัด เชียงใหม่ (1-26)
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 1 ดอกแก้วภูพาน จ. สกลนคร จ. สุรินทร์ จ. หนองคาย จ. หนองบัวลำภู จ. อุดรธานี
นำเสนอโดย : นายเสน่ห์ แสงคำ
กลุ่มที่1 กลุ่ม ส้มสามหมอก
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ นายสมเกียรติ วิจิตรประเสริฐ ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร สัมมนาเชิงปฏิบัติการการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการเกษตร.
โครงการพัฒนาระบบการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
โครงการ จัดระบบสินค้าเกษตรในระดับพื้นที่
การถ่ายโอนภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กลุ่มที่ 4 กลุ่มเฟื่องฟ้า
จังหวัดยโสธร เลย หนองคาย
กลุ่มที่ 15 กลุ่ม อ่าวสวยทะเลใส
นำเสนอโดย : นางสาวสุกัญญา เกิดกอง
กลุ่มที่ 11 กลุ่ม ศรีวิชัย
วิทยากร อ.นิภารัตน์ รัตโนภาส ผู้ช่วยวิทยากร นายปิยะพงศ์ เบาโพธิ์
กรอบ/แผนการจัดการความรู้สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ปี2553
ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
ผู้ช่วยเลขา สามารถจัดตั้งกองทุนพัฒนา อาชีพการเกษตร เพื่อช่วยเหลือ เกษตรกรเป็น แบ่งการบริหาร ลงในกลุ่มรับผิดชอบทั้งหมด 5 กลุ่ม คือ 1. กองทุนพันธุ์สัตว์
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
สรุปผลการจัดตั้งตลาดเกษตรกร ของสหกรณ์การเกษตรสบปราบ จำกัด จังหวัดลำปาง
นำเสนอโดย : นางนันทิยา วาสุกรี
ปฏิทินการประชุม คณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค.ก.ค. ส.ค.ส.ค. ก.ย.ก.ย. ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค
กลุ่มวิสาหกิจชุมชนหนองยางไคลพัฒนา อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน
จังหวัดเชียงใหม่ ลำปาง
จังหวัดตาก ( ๑ - ๑๗ ), จังหวัด อุตรดิตถ์ ( ๑ - ๘ )
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลและ อำเภอทุ่ง ช้าง จังหวัดน่าน ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย จิตร เสียงกอง เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
1. สัมมนาวางแผนปฏิบัติงานโครงการ และชี้แจงระเบียบการเงิน การบัญชี ตามระเบียบเงินรายได้ จากการรับจ้างผลิต และ จำหน่ายปัจจัยการเกษตรของศูนย์ ปฏิบัติการ.
คำขวัญประจำจังหวัด เหนือสุดในสยาม ชายแดนสามแผ่นดิน ถิ่นวัฒนธรรมล้านนา
กลุ่มที่ กลุ่มที่ 9 สองแคว โครงการส่งเสริม สินค้าเกษตรที่ ปลอดภัยและได้ มาตรฐาน ( ข้าว ) วิทยากรประจำกลุ่ม อ. พล ภัทร วารี ผู้ช่วยวิทยากร นาย สมชาย ชะฎาดำ.
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี การส่งเสริมพัฒนากลุ่ม อาชีพ ( พื้นฐาน ) เจ้าภาพ กพส. ดำเนินการแล้วอยู่ระหว่างดำเนินการยังไม่ดำเนินการ สนับสนุนปัจจัยการผลิต.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการ ลำไยสีทองล้านนา ชุมชนกลุ่มล้านนา โครงการ ลำไยสีทองล้านนา นำเสนอโดย คุณ อาทร วงษ์สง่า (นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว) จังหวัดลำพูน

นายชูศักดิ์ ตั้งกองเกียรติ นายดุลยพินิจ หงส์หิรัญ ชุมชนกลุ่มล้านนา นายวิโรจน์ พ่วงกลัด นายวีรยุทธ สมป่าสัก นายมานพ สุขสอาด นายชูศักดิ์ ตั้งกองเกียรติ นายอาคม ศรีธิพันธุ์ นายสุรพล เจียมตน นายเอนก บุญต็ม นายดุลยพินิจ หงส์หิรัญ นายวินิจ วงกลม นายวุฒิกร ธรรมวงศ์ นายสมนึก มัทธวรัตน์ นายนพพร สามลทา นายวฤณ รังษีชัชวาล นายชาติชาย ศิริเลิศ นายประพันธ์ จันทร์ผง นายสมศักดิ์ สายยาน นายสุเทพ ใจสบาย นางสาวสุรีย์ มณีธร นายมนัสพร เดชะวงศ์ นางจำเนียร แสนราชา นางนุสรา จงเจริญ นายอาทร วงษ์สง่า จังหวัดกำแพงเพชร จังหวัดเชียงราย จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดตาก จังหวัดน่าน จังหวัดแม่ฮ่องสอน จังหวัดลำปาง จังหวัดลำพูน

ผลสัมฤทธิ์ ผลลัพธ์ ผลผลิต กลุ่มผู้ผลิตและเกษตรกรมีอาชีพและรายได้ที่มั่นคง ผลสัมฤทธิ์ เกษตรกรผู้แปรรูปลำไยสีทองสามารถ เพิ่มมูลค่าและจำหน่ายได้ ผลลัพธ์ กลุ่มผู้ผลิตลำไยสามารถจำหน่ายผลผลิต ได้มากขึ้นและมีตลาดรองรับที่แน่นอน ได้ลำไยสีทองที่มีคุณภาพจำนวน 5 พันตัน/ปี ผลผลิต

กระบวนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ จัดตั้งกลุ่มผู้ผลิตลำไย/สร้างเครือข่าย ประชาสัมพันธ์/ชี้แจง อบรมเกษตรกรผู้แปรรูป/ผู้ผลิต กลุ่มผู้แปรรูปทำสัญญาซื้อ-ขายล่วงหน้ากับผู้ผลิตและผู้รับซื้อ มีการตรวจสอบรับรองคุณภาพผลผลิต ประเมินผลและรายงาน

ปัจจัยที่เอื้อต่อความสำเร็จ กลยุทธ์หน่วยงาน - ประสานหน่วยที่เกี่ยวข้อง การถ่ายทอดเทคโนโลยี,การตรวจสอบ,การจัดการด้านการตลาด,ฯลฯ - ส่งเสริมการแปรรูปลำไยเนื้อสีทองให้มีคุณภาพ สังคมเกษตร - เป็นแหล่งปลูกลำไย และเกษตรมีพื้นฐานในการผลิต เศรษฐกิจ - สามารถเก็บผลผลิตได้นาน - เพิ่มรายได้ - ตลาดมีความต้องการสูง เทคโนโลยี เกษตรกรมีความรู้และประสบการณ์ การเมือง - ประสานCEO,สส.,อ.ป.ท.,อ.บ.จ.ให้สนับสนุนงบประมาณ

ปัจจัยนำเข้า ทรัพยากรมนุษย์ -เกษตรกรผู้แปรรูปจำนวน 100 กลุ่ม - เกษตรกรผู้ผลิตที่จะเข้าร่วมโครงการจำนวน 10,000 คน -เกษตรกรผู้แปรรูปจำนวน 100 กลุ่ม -เลขาฯศูนย์ 100 คน

ปัจจัยนำเข้า เทคโนโลยีการผลิต - เครื่องอบลำไยที่ได้มาตรฐาน 5 เครื่องต่อกลุ่ม จำนวน 500 เครื่อง - ถ่ายทอดความรู้ด้านการผลิต,การแปรรูป,การบรรจุภัณฑ์ แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ

- ก๊าซหุงต้มขนาด 45 กิโลกรัม จำนวน 1,000 ถัง ปัจจัยนำเข้า วัตถุดิบ - ลำไยสดเกรด AA จำนวน 50,000 ตัน - ก๊าซหุงต้มขนาด 45 กิโลกรัม จำนวน 1,000 ถัง - กล่องบรรจุภัณฑ์ 250 กรัม จำนวน 20 ล้านกล่อง

- อบรมถ่ายทอดความรู้ 1,690,000 บาท ปัจจัยนำเข้า งบประมาณ - อบรมถ่ายทอดความรู้ 1,690,000 บาท - งบลงทุน 1,000,900,000 บาท - งบดำเนินการ 2,000,000 บาท [ รวม 1,004,590,000 บาท ]

ลำไยสีทอง 5,000 ตัน (กก.ละ 250 บาท) ผลตอบแทน ลำไยสีทอง 5,000 ตัน (กก.ละ 250 บาท) [ รวม 1,250,000,000 บาท ]

อ.ธรสิงห์ ตั้งคุปตานนท์ วิทยากร สุรมินทร์ หล้าบุญมา ผู้ช่วยฯ

ชุมชนกลุ่มล้านนา ขอกราบขอบพระคุณทุกๆท่าน

รวมรายละเอียดงบทั้งหมด 1,004,590,000 บาท - อบรมถ่ายทอดความรู้ 1,690,000 บาท เลขา 100 คน 1ครั้ง/2วัน = 40,000 บาท กลุ่มผู้แปรรูป 100 กลุ่ม กลุ่มละ 5 คน 1 ครั้ง/2 วัน = 150,000 บาท เกษตรกรผู้ปลูกลำไย 10,000 คน 1 ครั้ง/1วัน = 1,500,000 บาท - งบลงทุน 1,000,900,000 บาท ลำไยสด 50,000 ตัน/กก.15 บาท = 750,000,000 บาท เครื่องอบ 500 เครื่อง เครื่องละ 100,000 บาท = 50,000,000 บาท กล่องบรรจุภัณฑ์ 20ล้านกล่อง กล่องละ 10 บาท = 200,000,000 บาท ก๊าซ 1,000 ถัง ถังละ 900 บาท = 900,000 บาท - งบดำเนินการ 2,000,000 บาท ค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ 2,000,000 บาท รวมรายละเอียดงบทั้งหมด 1,004,590,000 บาท