161 102 การบัญชี 2 เงินสด (ต่อ).

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทำบัญชีโครงการอย่างไรให้โปร่งใส
Advertisements

1. ขั้นตอนการขออนุมัติหลักการ/ โครงการ
โดย ทีมผู้ดูแลระบบ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 11/03/2551
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย เงินรายได้ของมหาวิทยาลัย พ. ศ
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติการยืมเงินทดรองจ่ายเงินรายได้
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
บทที่ 7 ระบบบัญชีเกี่ยวกับการขายและลูกหนี้
บทที่ 12 ระบบบัญชีเกี่ยวกับสินทรัพย์ถาวร
บทที่ 8 ระบบบัญชีเกี่ยวกับเงินสด
บทที่ 3 เอกสารทางการบัญชี
สำนักงานตรวจสอบภายใน
การตรวจสอบการนำส่งเงินรายได้
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย คณะกรรมการการเงินของมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2546
Document Flow :: 3 Concepts
หลักการและเหตุผล. โครงการลงบัญชีเงินยืมทดรองจ่ายด้วยระบบคอมพิวเตอร์ หน่วยคลัง งานคลังและพัสดุ คณะทรัพยากรธรรมชาติ
ความรู้เกี่ยวกับการเงิน และหลักฐานการเบิกจ่ายเงิน
การยืมเงินรองจ่าย งานคลังและพัสดุ คณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
การคืนเงินยืมรองจ่าย
แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการเบิก
ผศ.ดร. วนาวัลย์ ดาตี้ ผู้ช่วยอธิการบดี
การรับและนำส่งเงินรายรับค่ารักษาพยาบาล
วิเคราะห์จากข้อมูลหรือรายงานทางการเงิน
การเบิกจ่ายเงินช่วยพิเศษ
ลงรายการบัญชีทุกวันเป็นประจำทุกเดือน
การปฏิบัติเกี่ยวกับบัญชีเกณฑ์คงค้าง
บทที่ 4 งบการเงิน.
การร่วมค้า (Joint Venture)
นางสาววรนุช ชัยกิตติภรณ์ หัวหน้าสนง.ตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรี
ระบบบัญชี.
การตรวจสอบด้านการเงิน
ขั้นตอนการดําเนินงานของกองคลังที่เกี่ยวข้องกับ หน่วยงานอื่น
วงจรรายจ่าย วงจรที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่อไปนี้
การบริหารการเงินโรงเรียน
น.ส.เสาวลักษณ์ วิจิตรโสภา
การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับ
โดย พ.ต.ท.หญิง วาสนา สุวรรณเรืองศรี รอง ผกก.ฝ่ายบัญชี 3 กช.สงป.
(ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน )
ลูกหนี้เงินยืมนอกงบประมาณ
โดย... นางจันทร์เพ็ญ หงษ์อินทร์
เงินนอกงบประมาณ โดย นางชูใจ บุญสุยา.
การบริหารงานการเงินของสถานศึกษา
หลักฐานการจ่ายค่าใช้จ่ายต่างๆ
แบบการตรวจสอบการบริหารการเงินบัญชี
การเบิกจ่ายค่าครุภัณฑ์โครงการวิจัย
Work Breakdown Structure [WBS]
แผนผังทางเดินเอกสาร - ระบบบัญชีเกี่ยวกับการจัดซื้อ
เรื่อง ระบบบัญชีเกี่ยวกับเงินเดือนและค่าแรง
สมุดบันทึกรายการขั้นต้น
หน่วยที่ 5 ระบบใบสำคัญ ลักษณะของใบสำคัญจ่าย วิธีการของระบบใบสำคัญ
งบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
ฝ่ายบริหารทั่วไป หน้าที่ความรับผิดชอบ รับผิดชอบการปฏิบัติงานบริหารทั่วไป ได้แก่ งานธุรการ งานสารบรรณ งานการเงิน บัญชี และพัสดุ งานยานพาหนะ งานจัดทำและบริหารงบประมาณ.
ขั้นตอนการดำเนินการใช้จ่ายเงินรายได้
ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น(ฉบับที่ 1325/2552)
การเบิกจ่ายเงินรางวัล ประจำปีงบประมาณ 2555
ระบบการเรียกเก็บหนี้
แนวทางการยกเลิกการจัดทำ บัญชีตามเกณฑ์คงค้างด้วยมือ
วิชาการบัญชีสินค้าและระบบบัญชีเดี่ยว
การบันทึกบัญชีและการจัดทำรายงานการเงิน
หน่วยงาน หมายถึง สำนัก/กอง/ส่วน/ฝ่าย ตามโครงสร้างของ อปท
สรุปประเด็นข้อตรวจพบ
วิชาการบัญชีตั๋วเงิน ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับตั๋วเงิน
หน่วยที่ 3 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป
กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
ประชุมประจำเดือน กองวิชาการและแผนงาน
ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1
การบริหารเงินทดรองจ่ายหมุนเวียนภายในส่วนงาน
หลักเกณฑ์การรับ-จ่าย-การจัดทำบัญชี
1. ดำเนินการตามระเบียบการเงิน / การคลังที่เกี่ยวข้อง 2. ดำเนินการแล้ว เสร็จตามเวลาและ มีระบบป้องกันการสูญหาย 3. การป้องกันการคลาดเคลื่อนจาก การรับ - จ่ายเงินสด.
การบันทึกข้อมูลสังกัดตามการ ปฏิบัติงานจริง ธันวาคม 2547 ณ ศูนย์คอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

161 102 การบัญชี 2 เงินสด (ต่อ)

การแสดงรายการเงินสดและ รายการเทียบเท่าเงินสดในงบการเงิน รายการเหล่านี้อันได้แก่ เงินสด เงินฝากธนาคาร และเงินสดย่อยจะรวมกันอยู่ภายใต้หัวข้อเงินสดและเงินฝากธนาคาร (Cash On Hand and at Banks) เป็นรายการแรกในงบดุลอยู่ในหมวดสินทรัพย์หมุนเวียน

เงินสดย่อย (Petty Cash Funds) เพื่อใช้จ่ายในกิจการในกรณีที่เป็นค่าใช้จ่ายเล็กๆ น้อยๆ ซึ่งกิจการจะตั้งงบเงินสดย่อยโดยเบิกเงินสดมาให้พนักงานของกิจการถือเงินสดย่อย(Petty Cash Custodian)ถือไว้เพื่อสำรองจ่าย กิจการจะไม่ใช้เช็คจ่ายเพราะเป็นเรื่องยุ่งยากที่ผู้รับเช็คจะนำเช็คไปขึ้นเงินกับธนาคาร และค่าธรรมเนียมของเช็คแต่ละฉบับมีจำนวน ฉบับละ 5 บาท

ขั้นตอนเกี่ยวกับเงินสดย่อย (Imprest System) 1. การตั้งเงินสดย่อย (Establishing the Funds) 2. การจ่ายเงินจากเงินสดย่อย (Making payments from the funds) 3. การเบิกชดเชยเงินสดย่อย (Replenishing the funds)

การตั้งเงินสดย่อย การบันทึกบัญชี โดยปกติจำนวนเงินทดรองจ่ายที่ตั้งไว้จะใช้ในกิจการระยะเวลาหนึ่งขึ้นอยู่กับกิจการ อาจเป็น 2 หรือ 3 สัปดาห์ก็ได้ จำนวนเงินสดก็จะขึ้นอยู่กับขนาดของกิจการ การบันทึกบัญชี บัญชีเงินสดย่อย 1,000 บัญชีเงินสด/ เงินฝากธนาคาร 1,000 ตั้งเงินสดย่อย

การจ่ายเงินจากเงินสดย่อย ผู้ถือเงินสดย่อยจ่ายเงินสดให้ผู้ขอเบิก ฝ่ายจัดการจะเป็นผู้กำหนดจำนวนเงินและรายการค่าใช้จ่ายที่จะจ่ายจากเงินสดย่อย ผู้เบิกเงินสดย่อยจะต้องทำเอกสารประกอบการขอเบิก เรียกว่า ใบสำคัญเงินสดย่อย(Petty Cash Voucher) บางรายการต้องมีการอนุมัติการจ่ายเงินจากเจ้าหน้าที่ระดับสูง เช่น ค่ารับรอง และเมื่อมีใบเสร็จรับเงินที่เป็นเอกสารภายนอกอื่น เช่นใบเสร็จรับเงินต่างๆ กิจการจะต้องนำมากลัดติดไว้กับใบสำคัญเงินสดย่อยเพื่อเป็นหลักฐานการจ่ายเงิน การบันทึกบัญชีจะทำเพียงแค่บันทึกไว้เพื่อเป็นช่วยความจำโดยอาจทำเป็นเงินสดย่อย

การเบิกชดเชยเงินสดย่อย เมื่อเงินสดย่อยมีจำนวนใกล้หมด พนักงานถือเงินสดย่อยจะขอเบิกชดเชยเพื่อให้เงินสดย่อยมีจำนวนเท่าเมื่อเริ่มตั้งครั้งแรก พนักงานถือเงินสดย่อยจะทำใบสรุปปะหน้าเอกสารใบสำคัญเงินสดย่อยทั้งหมด ฝ่ายการเงินจะตรวจสอบเอกสารทั้งหมดว่าถูกต้องตามระเบียบของกิจการเกี่ยวกับการจ่ายเงินจากเงินสดย่อย จากนั้นฝ่ายการเงินจะจัดเตรียมเช็คจ่ายให้พนักงานถือเงินรองจ่ายและจะประทับตรา “จ่ายแล้ว” ในเอกสารทั้งหมด เพื่อป้องกันการนำเอกสารมาเบิกเงินซ้ำ

การปฎิบัติในวันสิ้นงวด การเบิกเงินสดย่อยควรจะกระทำในวันสิ้นงวดด้วยเพื่อวัตถุประสงค์สองประการประการแรก เพื่อให้มีการบันทึกบัญชีค่าใช้จ่ายให้ครบถ้วน เพื่อป้องกันการทำเอกสารสูญหายของพนักงานถือเงินสด

การควบคุมภายในเกี่ยวกับเงินสดย่อย 1. ฝ่ายตรวจสอบภายในของกิจการจะต้องสุ่มตรวจสอบเอกสารและนับจำนวนเงินโดยไม่ให้พนักงานถือเงินสดย่อยรู้ตัวก่อน 2. การประทับตรา “จ่ายแล้ว” กับเอกสารที่จ่ายเงินแล้วทุกฉบับ จะทำให้ไม่สามารถนำเอกสารไปเบิกได้อีกครั้ง