หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต/ดุษฎีบัณฑิต โครงสร้างของหลักสูตร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต เทคโนโลยีทางอาหาร  เปิดหลักสูตรมาตั้งแต่ ปี 2523 ผลิตนิสิตระดับปริญญา โทเข้าทำงานในหน่วยราชการและเอกชนมากกว่า 30 รุ่น  หลักสูตรเทคโนโลยีทางอาหารระดับปริญญา.
Advertisements

สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
หลักเกณฑ์ วิธีการกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูล แหล่งทุนการศึกษา.
การเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของระบบบัณฑิตศึกษา 14 กุมภาพันธ์ 2550.
Faculty of Pharmaceutical Sciences
ประวัติและประสบการณ์การทำงาน
ระบบประกันคุณภาพคณะวิทยาศาสตร์
ขั้นตอนการเสนอแบบประเมินและพิจารณาโครงการวิจัย
กลุ่มที่ 2 สถาบันที่ยังไม่มี IBC
ภาควิชากีฏวิทยา ภาควิชากีฏวิทยา ให้การศึกษาทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติในศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับแมลง เพื่อนำความรู้ไปแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ รู้จักแมลงที่มีประโยชน์และโทษ.
งานปฐมนิเทศนิสิตใหม่ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัย บรูพา
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
วิสัยทัศน์ “คณะศึกษาศาสตร์เป็นองค์กรผลิตครูและบุคลากรทางการศึกษา ชั้นนำในระดับภูมิภาคอาเซียนโดยใช้วิจัยเป็นฐานในบริบทสังคม พหุวัฒนธรรม”
ปฐมนิเทศนักศึกษา หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต Doctor of Philosophy
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา
ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งน้ำ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตด้านสารสนเทศทางธุรกิจ มีวัตถุประสงค์ที่
หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาอังกฤษ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ภาควิชาเภสัชวิทยา คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการปกครอง
หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศการศึกษาและพัฒนาหลักสูตร
อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาบาลีและสันสกฤต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Master of Arts in Pali and Sanskrit Chulalongkorn University วัตถุประสงค์
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
หลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์
สำนักงานภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิต เทคโนโลยีทางอาหาร
หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา
หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาชีวเวชศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Doctor of Philosophy Program in Biopharmaceutical Sciences
หลักสูตรบัณฑิตศึกษาที่เปิดสอน หลักสูตรปริญญาโท
in Research for Health Development
คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิต สัตววิทยา (Zoology)
Ph.D. (Thai Theatre and Dance) at CHULA
Biomedical Engineering
“ทฤษฎีและปฎิบัติ สร้างสรรค์และวิจัย การละครร่วมสมัย”
MA (Thai Dance) at CHULA
รายละเอียดข้อมูลทั่วไป
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิการศึกษาระดับอุดมศึกษากับการประกันคุณภาพการศึกษา
สายวิชาการ 58 คน ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2553 จำนวนคน.
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
การใช้งานเว็บไซต์บัณฑิตวิทยาลัย
ประมาณการค่าใช้จ่าย นักศึกษาสามารถตรวจสอบประมาณการค่าใช้จ่ายของ นักศึกษา ซึ่งมหาวิทยาลัยฯ ได้เรียกเก็บในอัตราที่แตกต่างกัน แยกตามระดับการศึกษา/หลักสูตร.
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมีประยุกต์
STAFFS อาจารย์ แพทย์ใช้ทุน เจ้าหน้าที่ Ph.D. (9) M.Sc. (3)
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเกณฑ์ฯ
Update Module TCU-LMS ธัญภา จิรธรรมธนากุล โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ต่อ 2006
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลาน ครินทร์ 23 มิถุนายน 2552.
มาตรฐานหลักสูตรปริญญาเอก สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ศาสตราจารย์ ดร. ปราณี กุลละ วณิชย์ 29 มีนาคม 2550.
1. ชื่อสถาบัน ให้ระบุชื่อ สถาบันการศึกษา คณะวิชา และภาควิชาที่เปิดสอน หลักสูตร 2. ชื่อหลักสูตร ให้ระบุชื่อ หลักสูตรและสาขาวิชาให้ ชัดเจน แบบรายงานข้อมูลการ.
การสนับสนุน ทุนอุดหนุนวิจัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Company LOGO หลักสูตรระดับ บัณฑิตศึกษา ที่เปิดรับสมัคร ปี การศึกษา 2551 คณะทันตแพทยศาสตร์ หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทาง วิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก สาขาวิชารังสีวิทยาช่องปากและใบหน้า.
1 การปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “ วิทยาลัยชุมชน : ทางเลือกอุดมศึกษาเพื่อ ปวงชน ”
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
คำนิยามและขั้นตอนการเสนอหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา
เพื่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร.พันธ์ ทองชุมนุม
ประชุมคณาจารย์คณะครุศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 19 มิถุนายน 2557
รองศาสตราจารย์ ดร.กรรวี บุญชัย
ยินดีต้อนรับ อาจารย์และ นักศึกษาผู้สนใจ. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม ชั้น 4 อาคารเฉลิมพระ เกียรติ 72 พรรษา โทร
Company LOGO หลักสูตรระดับ บัณฑิตศึกษา ที่เปิดรับสมัคร ปีการศึกษา 2551 คณะทันตแพทยศาสตร์ หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทาง วิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก สาขาวิชาวิทยาเอ็นโดดอนต์
ชื่อหลักสูตร หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา Bachelor of ……. Program in ………….
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต/ดุษฎีบัณฑิต โครงสร้างของหลักสูตร สาขาวิชาชีวเวชเคมี โครงสร้างของหลักสูตร เลือกเรียนได้ 2 แบบ แบบที่ทำวิทยานิพนธ์โดยไม่ต้องผ่านการเรียนรายวิชา หรืออาจเรียนรายวิชาที่จำเป็นต่องานวิทยานิพนธ์ตามคำแนะนำของอาจารย์ที่ปรึกษาและคณะกรรมการบริหารหลักสูตรโดยไม่นับหน่วยกิต แบบที่ต้องผ่านการเรียนรายวิชาบังคับ วิชาเลือกและวิทยานิพนธ์ นอกจากนี้สามารถเลือกเรียนรายวิชาอื่นในหลักสูตรบัณฑิตศึกษาของจุฬาฯ ตามคำแนะนำของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร

คุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา สำหรับผู้สำเร็จปริญญาตรี สำเร็จปริญญาเภสัชศาสตรบัณฑิต หรือวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ หรือ วิทยาศาสตร์สุขภาพ หรือ เทียบเท่า และ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯพิจารณาแล้วเห็นสมควรให้มีสิทธิ์สมัครเข้าศึกษาได้ สำหรับผู้สำเร็จปริญญาโท สำเร็จปริญญาเภสัชศาสตรมหาบัณฑิต หรือวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ หรือวิทยาศาสตร์สุขภาพ หรือเทียบเท่า และ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯพิจารณาแล้วเห็นสมควรให้มีสิทธิ์ สมัครเข้าศึกษาได้

ทุนการศึกษา ทุนวิจัย 1. ทุนจากมหาวิทยาลัย เช่น ทุนสนับสนุนวิทยานิพนธ์และกลุ่มวิทยานิพนธ์ เงินทุนบัณฑิตวิทยาลัย 2. ทุนจากแหล่งทุนวิจัยภายนอก ทุนสนับสนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ทุนสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ทุนทำวิจัยระดับปริญญาเอก ณ ต่างประเทศจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) 3. ทุนค่าเล่าเรียน และ ค่าใช้จ่ายในการศึกษาวิจัย ทุนปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.) ทุนสถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทย (TGIST) ทุนบัณฑิตศึกษาภายในประเทศสาขาเทคโนโลยีชีวภาพ (BIOTEC) 4. ทุนผู้ช่วยสอน/ทุนผู้ช่วยวิจัย

สนใจข้อมูลเพิ่มเติมติดต่อ ขอบเขตงานวิจัย การวิจัยด้านชีวเวชและสารชีวโมเลกุลที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพ (Biomedicinal/Bioactive Biomolecule Research ) สารชีวโมเลกุลเพื่อการพัฒนาเภสัชภัณฑ์ (Biomolecules on Drug Development) การวิจัยเทคนิคในการสอบฤทธิ์ทางชีวภาพ ตรวจวิเคราะห์ และวินิจฉัยทางชีวภาพ (Bioassay/Biochemical analysis and Diagnosis Research) 4. ชีววิทยาโมเลกุลและพันธุวิศวกรรม (Molecular Biology and Genetic Engineering) เลขานุการหลักสูตรชีวเวชเคมี ภาควิชาชีวเคมี คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาฯ โทร 0-2218-8371 โทรสาร 0-2218-8375 Email: Maneewan.S@chula.ac.th http://www.pharm.chula.ac.th/biochem/ สนใจข้อมูลเพิ่มเติมติดต่อ