COE2010-19 โปรแกรมการจัดทำตารางสอนสำหรับภาควิชา นางสาวรัตติยา ฐานะสุนทรฤกษ์ รหัส 503040253-3 นายเสฏฐวุฒิ แสนนาม รหัส 503040791-5 อาจารย์ที่ปรึกษา รศ. วิโรจน์ ทวีปวรเดช อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน ผศ. บุญฤทธิ์ กู้เกียรติกูล รศ. วนิดา แก่นอากาศ
เนื้อหาที่จะนำเสนอ ที่มาและความสำคัญ วัตถุประสงค์ของโครงการ ขอบเขตของโครงการ ผลที่คาดว่าจะได้รับ บทความและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง สรุป
ที่มาและความสำคัญ การจัดทำตารางสอน เกี่ยวข้องกับหลายส่วนงานในมหาวิทยาลัย ตารางสอน สำนักทะเบียนและประมวลผล สำนักงานบริการการศึกษา ภาควิชา
DSS
วัตถุประสงค์ของโครงการ ศึกษาความต้องการและปัญหาในการจัดตารางสอน และวิธีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขตารางสอน วิเคราะห์ปัญหาเพื่อออกแบบกระบวนการทำงาน ออกแบบและพัฒนาโปรแกรมให้ตอบสนองตามความต้องการ
ขอบเขตของโครงการ โปรแกรมที่พัฒนาจะทำการวิเคราะห์และตัดสินใจในการจัดการตารางสอน รองรับการทำงานในระดับภาควิชา ใช้ข้อมูลวิชาเรียนของภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นเป็นกรณีศึกษา
บทความและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การจัดตารางสอนอัตโนมัติแบบเลือกสรรได้โดยใช้จีนีติกอัลกอริทึม โปรแกรมที่มีลักษณะการทำงานใกล้เคียงกับความต้องการ โปรแกรมจัดตารางสอน 6.03B โปรแกรม aScTimeTables Prime Timetable
โปรแกรมที่มีลักษณะใกล้เคียงกับความต้องการ โปรแกรมจัดตารางสอน 6.03B ข้อเด่น สามารถแสดงตารางสอนของครู นักเรียน และห้องเรียนได้ทั้งแบบรวมและแบบแยกตามประเภท สามารถตรวจสอบการทับซ้อนของตาราง ข้อด้อย ต้องมีการกำหนดค่าเวลาในทุกคาบให้แน่นอน เหมาะสำหรับจัดตารางสอนในระดับโรงเรียนมากกว่าในระดับมหาวิทยาลัย ใช้การคลิกแล้วเพิ่มข้อมูล ปัญหาที่พบ ต้องมีการกำหนดค่าเวลาในทุกคาบให้แน่นอน ทำให้แต่ละชั้นปี แต่ละวิชาต้องมีชั่วโมงในการเรียนที่แน่นอน เหมาะสำหรับจัดตารางสอนในระดับโรงเรียนมากกว่าในระดับมหาวิทยาลัย เพราะในระดับโรงเรียน ห้องเรียนเดียวกันจะเรียนเหมือนกัน แต่ในระดับมหาวิทยาลัย ถึงแม้จะเป็นคณะเดียวกันและชั้นปีเดียวกันอาจจะมีวิชาเรียนไม่เหมือนกันก็ได้
โปรแกรมที่มีลักษณะใกล้เคียงกับความต้องการ โปรแกรม aScTimeTables ข้อเด่น มีฟังก์ชันจัดตารางสอนอัตโนมัติตามเงื่อนไข แต่สามารถปรับเปลี่ยนเองได้ แจ้งเตือนเมื่อพบการเปลี่ยนแปลงที่ผิดเงื่อนไข มีพื้นที่พักวิชาเรียนที่ยังไม่ได้จัด ใช้สีในการแสดงแทนวิชาเรียน,อาจารย์,ห้องเรียน,นักเรียน ข้อด้อย ต้องตั้งเวลาแต่ละคาบให้แน่นอน สามารถแสดงและพิมพ์ตารางของ นักเรียน, อาจารย์, ห้องเรียน, วิชาเรียนทั้งแบบรวมและแบบแยกแต่ละประเภท สามารถส่งออกตารางในรูปแบบเอกสาร Microsoft Excel หรือ XML หรือบันทึกในรูปแบบ HTML และเผยแพร่บนเว็บไซต์ สามารถเปลี่ยนตารางเวลาโดยเลื่อนชั้นเรียนด้วยเมาส์ โดยจะมีการเตือนเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงที่ผิดเงื่อนไข สามารถยกเลิกหรือทำซ้ำการทำงานล่าสุดได้ สามารถสร้างรายงานคำนวณการขาด, การลางาน,การสอนแทน,การสอนเพิ่ม
โปรแกรมที่มีลักษณะใกล้เคียงกับความต้องการ Prime Timetable ข้อเด่น จัดตารางสอนอัตโนมัติตามเงื่อนไขที่กำหนด และสามารถปรับเปลี่ยนเองได้ มีพื้นที่พักวิชาเรียนที่ยังไม่ได้จัด ใช้สีในการแสดงแทนวิชาเรียน,อาจารย์,ห้องเรียน,นักเรียน สามารถใช้งานพร้อมกันได้หลายคน ข้อมูลที่แสดงเป็นข้อมูลล่าสุด ข้อด้อย ต้องตั้งเวลาแต่ละคาบให้แน่นอน ต้องเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ทเพื่อใช้งาน เมื่อมีการเปลี่ยนเวลาเรียนและหากมีการทับซ้อนกับเวลาที่มีอยู่แล้ว หรือผิดเงื่อนไขจะไม่ยินยอมให้เปลี่ยน สามารถส่งออกตารางเรียนได้ในรูปแบบ XML หรือ รูปภาพ jpeg สามารถแสดงตารางของแต่ละวิชา แต่ละห้องเรียน และของอาจารย์แต่ละคน เนื่องจากอยู่บนเว็บไซต์จึงสะดวกในการสร้างตารางโดยมีผู้ใช้หลายคนสามารถช่วยกันพัฒนา และข้อมูลที่แสดงเป็นข้อมูลล่าสุด
สรุป การจัดตารางสอนมีปัจจัยและเงื่อนไขหลายอย่างที่ต้องนำมาวิเคราะห์ ตารางสอนอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ และการเปลี่ยนแปลงต้องไม่ให้ส่งผลต่อนักศึกษาที่ลงทะเบียนอยู่ก่อน ออกแบบและพัฒนาโปรแกรมที่เป็นระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการจัดทำตารางสอนสำหรับภาควิชา โดยระบบสามารถทำงานได้ตามเงื่อนไขที่กำหนด
ขั้นตอนการดำเนินโครงการ ขั้นตอนการดำเนินโครงการ สรุป ขั้นตอนการดำเนินโครงการ 2553 2554 มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. วางแผนและออกแบบโปรแกรมต้นแบบ เพื่อดูความเหมาะสมที่จะนำไปพัฒนาต่อ วิเคราะห์สิ่งที่ออกแบบเพื่อตรวจดูความเป็นไปได้และความถูกต้อง สร้างและทดสอบระบบ โดยทดสอบกับข้อมูลจริงของวิชาในภาคการศึกษาที่ผ่านมา ทดสอบระบบกับข้อมูลจริงของวิชาในภาคการศึกษาที่ 2/2553 และปรับปรุงแก้ไข วิเคราะห์และสรุปผลการพัฒนาโปรแกรม เขียนรายงานผลการดำเนินโครงการ ขั้นตอนการดำเนินโครงการ 2553 2554 มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ศึกษาข้อมูลปัญหาและความต้องการในการจัดตารางสอนของภาควิชา ส่วนที่จะทำการดำเนินการต่อไป ส่วนที่ได้ดำเนินการแล้ว
Q&A Thank You