คำขวัญประจำจังหวัด เหนือสุดในสยาม ชายแดนสามแผ่นดิน ถิ่นวัฒนธรรมล้านนา ล้ำค่าพระธาตุดอยตุง
โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวหอมมะลิเพื่อการส่งออก จังหวัดเชียงราย กลุ่มข้าวสารขาวเชียงราย กลุ่มที่ 10 ที่ปรึกษาประจำกลุ่ม อ.สมชาย หอมกระหลบ ผู้ช่วยที่ปรึกษา น.ส.รัตน์ตนา บัวศรีคำ จ.เชียงราย เลขที่ 1-26 นำเสนอโดย นายถาวร วงศ์ชัย
รายชื่อประจำกลุ่มจังหวัดเชียงราย (1-26) ประธานกลุ่ม นายสวัสดิ์ สมวรรณ ลำดับที่ ชื่อ - นามสกุล 1 นายสวัสดิ์ สมวรรณ 2 นางภณิดา ชัยปัญญา 3 นายสุรศักดิ์ เรืองสวัสดิ์ 4 นายเกรียงศักดิ์ มหาวรรณ์ 5 นายสมนึก กองไชย 6 นายสำเภา ดีใจ 7 นางกนกพร นาคิน 8 นายสุรชัย ทางลิขิตกุล 9 นายสุภพ พรหมมินทร์ 10 นายสพล พรหมเทพ 11 นายบุญเทียม วงศา 12 นายมนัส วงศ์สุภา 13 นายนพดล สุวรรณะ ลำดับที่ ชื่อ - นามสกุล 14 นายทรงศักดิ์ ศิริเทพ 15 นางสุมาลี ริยะสาร 16 นายอาลี ปัญญาวิชัย 17 นายจุมพล หงษาคำ 18 นายสกณธ์ พูนประพันธ์ 19 นายถาวร วงค์ชัย 20 นางอารีย์ กิติรัตน์ 21 นางอำนวยพร ศิริวัฒน์ 22 นายสัญจร เขื่อนแก้ว 23 นายพันธ์ศักดิ์ สุวรรณมงคล 24 นายสัมภาษณ์ ดาวเด่น 25 นายวิโรจน์ จันทร์ขาว 26 นางสาวสุวรรณี ไผ่คำ
ผลสัมฤทธิ์ ผลลัพธ์ ผลผลิต เกษตรกรมีความสามารถในการผลิตและจัดการสินค้าเกษตรอย่างมีประสิทธิภาพ เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น ผลผลิตเป็นที่ต้องการของตลาดทั้งภายในและต่างประเทศ ผลลัพธ์ เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นทั้งหมด 120 ล้านบาท / 4,000 ครัวเรือน หรือ 30,000 บาท / ครัวเรือน ผลผลิตจำหน่ายได้ราคามากกว่าเดิม ผลผลิต ได้ผลผลิตรวม 12,000 ตัน (จากเดิม 10,000 ตัน) เฉลี่ย 600 กิโลกรัม / ไร่ (จากเดิม 500 กิโลกรัม / ไร่)
กระบวนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ ขั้นตอนการดำเนินงาน - ประชุมหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมอบภารกิจ - กำหนดพื้นที่ดำเนินการ และประชาสัมพันธ์โครงการ - คัดเลือกพื้นที่ / เกษตรกร / ประชุมชี้แจง / การมีส่วนร่วม - สนับสนุนปัจจัยการผลิต - ถ่ายทอดความรู้ (ตามกระบวนการโรงเรียนเกษตรกร) - รวบรวมผลผลิตเพื่อจำหน่าย , ติดตามและประเมินผล - ประชาสัมพันธ์ผลสำเร็จ
การมีส่วนร่วมของประชากร การบริหารโครงการ กระบวนการเรียนรู้ การจัดตั้งกองทุน วิธีการนำไปสู่การปฏิบัติ แผนถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตการเกษตร (ตามกระบวนการโรงเรียนเกษตรกร) แผนการลงทุน แผนการสนับสนุนปัจจัยการผลิต / ติดตามสนับสนุนการผลิต
ปัจจัยที่เอื้อต่อการทำงาน กลยุทธ์หน่วยงาน พันธมิตรสนับสนุนโครงการเช่น อปท., CEO การเมือง ผู้นำชุมชนที่มีส่วนร่วมและสนับสนุน (ยุทธศาสตร์จังหวัดเชียงราย) และ อปท., NGO สังคมการเกษตร เกิดการรวมกลุ่มทางการเกษตร / วิสาหกิจชุมชน เศรษฐกิจ เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น / แก้ไขปัญหาความยากจนได้ เทคโนโลยี เกษตรกรมีความรู้ ทักษะพร้อมที่จะถ่ายทอดวิชาการด้านการผลิตข้าวหอมมะลิให้ เกษตรกรรายอื่นๆ ที่สนใจ
ปัจจัยนำเข้า คน เทคโนโลยี วัตถุดิบ เงิน - เครื่องมือและอุปกรณ์ - เจ้าหน้าที่ / กรรมการศูนย์ เทคโนโลยี - ภูมิปัญญาท้องถิ่น , งานวิจัยการจัดการ วัตถุดิบ - ปัจจัยการผลิต - เครื่องมือและอุปกรณ์ เงิน - จาก อปท. , CEO , NGO
ขอขอบพระคุณ จบ