กับเส้นทางของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการผู้ปกครองเครือข่าย ประจำปี 2550
Advertisements

โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
โรงเรียนบ้านลาดวิทยา
ประวัติส่วนตัว sunny kongsa.
เปรียบเทียบครุศาสตร์อุตสาหกรรมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ  
แนวทางการดำเนินงาน ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
หัวข้อรายงาน และอาจารย์ที่ปรึกษาประจำกลุ่ม
นายสำเริง นวลปาน ตำแหน่งประธานกรรมการ นายสุเทพ เทพบุรี ตำแหน่งกรรมการ
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
อำนาจหน้าที่ของสภามหาวิทยาลัย เป็นไปตาม ตามมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ. ศ
ประชุมกรมการจังหวัด / หัวหน้า ส่วนจังหวัด ๑. นโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล กระทรวง จังหวัด ๑. ๑. สนง. เกษตรจังหวัด รายงานผลการ เตรียมความพร้อมหมู่บ้าน ศกพ. ม.
กิจกรรมส่งเสริมเอกลักษณ์ของชาติ ตามโครงการ “ธงไตรรงค์ ธำรงไทย” จังหวัดตราด ตามที่จังหวัดตราด โดย สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดตราด ได้ดำเนินการโครงการ“ธงไตรรงค์
งานปฐมนิเทศนิสิตใหม่ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัย บรูพา
สรุปผลการดำเนินงานของคณะทำงาน
ประวัติส่วนตัว ครูชำนาญ เกตุโสระ ครูชำนาญการพิเศษ.
“MY SCHOOL”.
สัปดาห์ที่ 2 เรื่อง โครงการสุขศึกษา
STAFFS อาจารย์ แพทย์ใช้ทุน เจ้าหน้าที่ Ph.D. (9) M.Sc. (3)
ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู ยินดีต้อนรับ คณะผู้ตรวจสอบและประเมินระบบประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รศ.ดร. เสริมศรี ไชยศร และ รศ.ดร.ดาราวรรณ.
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านเขาสามชั้น
โรงเรียนบ้านยางแดง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2
ครูเพ็ญณภัทร ธรรมโชติ
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง (Project Citizen)
ชื่อโรงเรียนบ้านหนองเฒ่า
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
พัฒนาการพิพิธภัณฑ์ในประเทศไทย : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
ความเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อการศึกษาและวิชาชีพครู ในปัจจุบันและอนาคต
ประวัตติความเป็นมา มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางมีชื่อเดิมว่า "วิทยาลัยครูลำปาง"  ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2514 ตั้งอยู่เลขที่ 119  ถนนลำปาง - แม่ทะ  บ้านหนองหัวหงอก.
ตัวอย่าง การประชุม สภาวิชาการมหาวิทยาลัยนครพนม ครั้งที่ ..../…......
การคัดเลือก อสม.ดีเด่นระดับชาติ ปี ๒๕๕๔ สาขาการส่งเสริมสุขภาพ
แนะนำตัว การศึกษา อาชีพด้านไอที วิชาที่รับผิดชอบ งานเขียน
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
ว่าที่ร้อยตรีไพศาล ประทุมชาติ
แนะนำผู้ดูแลโรงเรียนขนาดเล็ก
เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มารู้จัก ผู้อำนวยการโรงเรียนสุราษฎร์ธานี
หน้าที่ ของผู้จัดและผู้ให้การศึกษานั้น กล่าว อย่างสั้นที่สุดก็คือการให้คนได้เรียนดี เพื่อที่จะ สามารถทำการงานสร้างตัวและดำรงตัวให้เป็นหลัก เป็นประโยชน์แก่ส่วนรวมได้
ประเมินพนักงานราชการ ครั้งที่ ๑ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๖
ประวัติและผลงานวิทยากร
กลุ่ม ๓ ชื่อ กลุ่ม....สามซ่าๆๆ.
“แนวทางการจัดตั้งชมรมเสริมสร้างวินัยประเทศไทยใสสะอาดเพื่อสร้างเครือข่าย การส่งเสริมคนดี มีวินัย น้อมเกล้าฯ ถวายในหลวง”
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยบุรพา.
มหาวิทยาลัยบูรพา.
ยินดีต้อนรับ สู่ กศน.ตำบลส้มผ่อ.
MY SCHOOL BANRAIWITTAYA B.R.W. By…Nittaya Kaeonan.
by Kanyaphon Numchaidi M.6/1 NO.8
นางศศิธร สินลา วุฒิการศึกษา ศษม.สาขาการสอนสังคมศึกษา มช.
ตำแหน่งครู รร.ทรายทองวิทยา สพม.เขต 27
เศรษฐกิจพอเพียง.
My school.
ประวัติความเป็นมาของโรงเรียนอนุบาลวัดสระแก้ว
My school.
เทศบาลตำบลบัลลังก์ จดหมายข่าว ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
การบริหารราชการแผ่นดิน
……My school…….
My love school.
ชื่อ – สกุลพระสัมพันธ์ สิริสุวณฺโณ ( พอก๊ะ ) ชื่อผู้ให้กำเนิดนายโรจน์พอก๊ะ บิดา นางศรีพอก๊ะ มารดา วัน เดือน ปีเกิด 27 กันยายน 2534 ภูมิลำเนาบ้านเลขที่
โรงเรียนสุทธิวงศ์ดำรงวิทย์
นาย วิชัย ยุชังกูล โรงเรียนบ้านไร่วิทยาเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประจำอำเภอบ้าน ไร่ รับนักเรียนสหศึกษาประเภทเดินเรียนและมีนักเรียนอาศัยอยู่ ในบ้านพักนักเรียน.
การศึกษาบัณฑิต (กศบ.) เทคโนโลยีทางการศึกษา มศว. ประสานมิตร
ประวัติส่วนตัว.
ตัวอย่าง ความก้าวหน้า ของเทคโนโลยีทาง การศึกษา. โครงการจัดการศึกษา ด้วยระบบทางไกลผ่าน ดาวเทียม.
ประวัติและโครงสร้าง การลูกเสือไทย วัตถุประสงค์
รองศาสตราจารย์ ดร.กรรวี บุญชัย
ยินดีต้อนรับ อาจารย์และ นักศึกษาผู้สนใจ. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม ชั้น 4 อาคารเฉลิมพระ เกียรติ 72 พรรษา โทร
จัดทำโดย MY RECORD นางสาว พนิดา แซ่ลิ้ม รหัสนิสิต
ชื่อ พระพจชกร ฉายา อคฺคปญฺโญ นามสกุล สุตา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กับเส้นทางของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี มรภ.พบ. (PBRU) เพชรราชภัฏ กับเส้นทางของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี http://www.pbru.ac.th สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มรภ.พบ. (PBRU)

โรงเรียนฝึกหัดครูประกาศนียบัตรมณฑล แผนกกสิกรรม โรงเรียนฝึกหัดครูประกาศนียบัตรมณฑล แผนกกสิกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เริ่มก่อตั้งครั้งแรกที่ตำบลอู่เรือ จังหวัดราชบุรี จากการเป็น โรงเรียนฝึกหัดครูประกาศนียบัตรมณฑล แผนกกสิกรรม เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2469 จากนั้นจึงมีวิวัฒนาการตามลำดับ พ.ศ.2470 ย้ายมาอยู่ในเขตพระราชวัง พระรามราชนิเวศน์ (วังบ้านปืน) ตำบลบ้านหม้อ อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี   มีครูใหญ่ 2 ท่านตามลำดับ ดังนี้ 1. นายฮู้ ภิงคานนท์ เป็นครูใหญ่ปี 2470-2475 2. ขุนจีนศิริศึกษากร (เฮง จีรศิริ) เป็นครูใหญ่ปี 2475-2476 สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มรภ.พบ. (PBRU)

โรงเรียนฝึกหัดครูมูล และแผนกฝึกหัดครูประกาศนียบัตรจังหวัด พ.ศ.2476 ยกฐานะขึ้นเป็นโรงเรียนฝึกหัดครูมูลและแผนกฝึกหัดครู ประกาศนียบัตรจังหวัด  มีครูใหญ่ 1 ท่าน คือ นายแช สามชัย เป็นครูใหญ่คนที่ 3 ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ปี 2476-2478 สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มรภ.พบ. (PBRU)

โรงเรียนฝึกหัดครูประกาศนียบัตร จังหวัดเพชรบุรี พ.ศ. 2478 เปลี่ยนชื่อเป็นโรงเรียนฝึกหัดครูประกาศนียบัตรจังหวัดเพชรบุรี พ.ศ. 2481 ย้ายสถานที่ไปตั้งบริเวณวัดเกตุ ตำบลท่าราบ อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี  มีครูใหญ่ 3 ท่านตามลำดับ ดังนี้ 1. นายไกรสีห์ (เซ่งฮวด) สุขสมัย ดำรงตำแหน่งปี 2478-2483 2. นายบุญช่วย (เชวง) เลี้ยงสกุล ดำรงตำแหน่งปี 2483-2484 3. นายโกวิท ต่อวงศ์ ดำรงตำแหน่งปี 2584 สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มรภ.พบ. (PBRU)

สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มรภ.พบ. (PBRU)

โรงเรียนฝึกหัดครูมูลเพชรบุรี พ.ศ. 2485 เปิดสอนนักเรียนฝึกหัดครูประชาบาล และเปลี่ยนชื่อเป็นโรงเรียนฝึกหัดครูมูลเพชรบุรี   พ.ศ. 2491 ยกเลิกหลักสูตรครูประชาบาล มีครูใหญ่ 2 ท่าน ตามลำดับ ดังนี้ 1. นายรัศมี ศรีเสน่ห์ ดำรงตำแหน่งปี 2484-2486 2. นายไปล่ สมิตเมฆ ดำรงตำแหน่งปี 2486-2493 สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มรภ.พบ. (PBRU)

สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มรภ.พบ. (PBRU)

โรงเรียนฝึกหัดครูเพชรบุรี พ.ศ. 2493 เปลี่ยนชื่อเป็นโรงเรียนฝึกหัดครูเพชรบุรี พ.ศ. 2506 ย้ายมาตั้งอยู่ที่ตำบลนาวุ้ง อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี บนเนื้อที่ 200 ไร่เศษ ซึ่งเป็นสถานที่ตั้งปัจจุบัน เปลี่ยนชื่อตำแหน่งหัวหน้าสถานศึกษาเป็นอาจารย์ใหญ่ มี 4 ท่าน ตามลำดับ ดังนี้ 1. นายน้อม บุญดิเรก ดำรงตำแหน่งปี 2493-2503 2. นายเติม จันทชุม ดำรงตำแหน่งปี 2503 3. นายพร้อม ปริงทอง ดำรงตำแหน่งปี 2503-2505 4. นายพะนอม แก้วกำเนิด ดำรงตำแหน่งปี 2505-2512 สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มรภ.พบ. (PBRU)

สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มรภ.พบ. (PBRU)

สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มรภ.พบ. (PBRU)

ผู้ผลักดันคนสำคัญในการย้ายสถานศึกษามาอยู่ที่ปัจจุบัน นายพะนอม แก้วกำเนิด สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มรภ.พบ. (PBRU)

อาจารย์ใหญ่โรงเรียนฝึกหัดครูเพชรบุรี พ.ศ. 2505-2512 อาจารย์ใหญ่โรงเรียนฝึกหัดครูเพชรบุรี พ.ศ. 2505-2512 เป็นกำลังสำคัญสร้างโรงเรียนฝึกหัดครูเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี เป็นกำลังสำคัญเริ่มงานสร้างวิทยาลัยครูให้สามารถสอนวิชาการต่างๆ ได้ถึงระดับปริญญาตรี โดยออกพระราชบัญญัติวิทยาลัยครู พ. ศ. 2527 (ฉบับที่ 2) เริ่มงานโครงการขยายโอกาสทางการศึกษา ในระดับมัธยมศึกษา เป็นกำลังสำคัญในการปรับปรุงหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน เป็นกำลังสำคัญในการสร้าง แผนพัฒนาการศึกษา ระยะที่ 6 กรรมการที่ปรึกษาคณะกรรมการร่วมมือระหว่างกลุ่มวิทยาลัยครูภาคตะวันตกกับมหาวิทยาลัยศิลปากร สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มรภ.พบ. (PBRU)

อาจารย์ใหญ่โรงเรียนฝึกหัดครูเพชรบุรี พ.ศ. 2505-2512 อาจารย์ใหญ่โรงเรียนฝึกหัดครูเพชรบุรี พ.ศ. 2505-2512 แนวคิดในการพัฒนาสถาบันราชภัฏเพชรบุรี สถาบันราชภัฏ ต้องมุ่งเน้นบทบาทหน้าที่ของสถาบันอุดมศึกษา ของท้องถิ่น จัดการศึกษาวัฒนธรรมเพื่อพพัฒนาเยาวชน ประชาชนในท้องถิ่น และมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่น ตาม นโยบายและแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มรภ.พบ. (PBRU)

วิทยาลัยครูเพชรบุรี พ.ศ. 2512 เปิดสอนในระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา ชั้นสูง และยกฐานะเป็น วิทยาลัยครูเพชรบุรี เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม   มีอาจารย์ใหญ่ 2 ท่าน ตามลำดับ ดังนี้ 1. นายวิเชียร แสนโสภณ ดำรงตำแหน่งปี 2512-2515 2. นายประกอบ ระกิตติ ดำรงตำแหน่งปี 2515-2516 และเปลี่ยนเป็นผู้อำนวยการ อีก 2 ท่าน ตามลำดับดังนี้ 3. นายสกล นิลวรรณ ดำรงตำแหน่งปี 2516-2518 4. นายเสยย์ เกิดเจริญ ดำรงตำแหน่งปี 2518-2519 สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มรภ.พบ. (PBRU)

สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มรภ.พบ. (PBRU)

สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มรภ.พบ. (PBRU)

สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มรภ.พบ. (PBRU)

สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มรภ.พบ. (PBRU)

วิทยาลัยครูเพชรบุรี ตาม พ.ร.บ. วิทยาลัยครู พ.ศ. 2518 วิทยาลัยครูเพชรบุรี ตาม พ.ร.บ. วิทยาลัยครู พ.ศ. 2518 พ.ศ. 2519 ยกฐานะขึ้นเป็นสถาบันอุดมศึกษา เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2519 ตามพระราชบัญญัติวิทยาลัยครู พ.ศ.2518  มีอธิการบดี 5 ท่าน ตามลำดับ ดังนี้ 1. นายเสยย์ เกิดเจริญ ดำรงตำแหน่งปี 2519-2524 2. ผศ.ดร. วรชัย เยาวปาณี ดำรงตำแหน่งปี 2524-2529 3. นายนิทัศน์ เพียกขุนทด ดำรงตำแหน่งปี 2529-2532 4. รศ. สันต์ ธรรมบำรุง ดำรงตำแหน่งปี 2533-2536 5. ผศ.ดร. ปัญญา การพานิช ดำรงตำแหน่งปี 2536-2538 สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มรภ.พบ. (PBRU)

นายเสยย์ เกิดเจริญ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มรภ.พบ. (PBRU)

อธิการบดีคนแรกของวิทยาลัยครูเพชรบุรี พ.ศ. 2519-2524 อธิการบดีคนแรกของวิทยาลัยครูเพชรบุรี พ.ศ. 2519-2524 ประวัติ นายเสยย์ เกิดเจริญ เกิดเมื่อวันที่ ๑๙ กันยายน พ.ศ. ๒๔๗๑ สมรสกับนางสาวพะเยาว์ (โชติประดิษฐ์) เกิดเจริญ มีบุตรรวม ๓ คน คือ ๑. นางสาวชุติมา เกิดเจริญ ๒. นายณพงศ์ เกิดเจริญ ๓. นายพิริย์สัณห์ เกิดเจริญ การศึกษา ประถมศึกษา โรงเรียนประชาบาล ตำบลบางแก้ว อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี มัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสุวรรณรังสฤษฎ์วิทยาลัย สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มรภ.พบ. (PBRU)

อธิการบดีคนแรกของวิทยาลัยครูเพชรบุรี พ.ศ. 2519-2524(ต่อ) อธิการบดีคนแรกของวิทยาลัยครูเพชรบุรี พ.ศ. 2519-2524(ต่อ) การศึกษา(ต่อ) มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนประจำจังหวัดเพชรบุรี “วัดคงคาราม” ป.ป. โรงเรียนบ้านสมเด็จเจ้าพระยา พ.ม. ศึกษาด้วยตนเอง กศ.บ. (สาขามัธยมศึกษา) วิทยาลัยการศึกษาประสานมิตร หลักสูตรการปฏิบัติการจิตวิทยาฝ่ายอำนวยการ รุ่น ๓๔ สถาบันจิตวิทยาความมั่นคง หลักสูตรการพัฒนาชนบท รุ่น ๔๙ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มรภ.พบ. (PBRU)

อธิการบดีคนแรกของวิทยาลัยครูเพชรบุรี พ.ศ. 2519-2524(ต่อ) อธิการบดีคนแรกของวิทยาลัยครูเพชรบุรี พ.ศ. 2519-2524(ต่อ) การทำงาน พ.ศ. ๒๔๙๕ ครูจัตวา พ.ศ. ๒๕๐๐ ครูตรี พ.ศ. ๒๕๐๓ อาจารย์ตรี พ.ศ. ๒๕๐๔ อาจารย์โท พ.ศ. ๒๕๑๒ อาจารย์เอก วิทยาครูเพชรบุรี พ.ศ. ๒๕๑๘ ผู้อำนวยการวิทยาลัยครูเพชรบุรี พ.ศ. ๒๕๑๙ อธิการวิทยาลัยครูเพชรบุรี พ.ศ. ๒๕๒๕ อาจารย์ ๓ ช่วยราชการกรมการฝึกหัดครู สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มรภ.พบ. (PBRU)

สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มรภ.พบ. (PBRU)

สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มรภ.พบ. (PBRU)

สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มรภ.พบ. (PBRU)

สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มรภ.พบ. (PBRU)

สถาบันราชภัฏเพชรบุรี พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิ พลอดุลยเดชฯ ทรงพระราชทานนาม “สถาบันราชภัฏ” เมื่อ วันที่ 14 กุมภาพันธ์   พ.ศ. 2538 ยกฐานะเป็นสถาบันราชภัฏเพชรบุรี ตามพ.ร.บ.สถาบันราชภัฏ พ.ศ.2538 สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มรภ.พบ. (PBRU)

สถาบันราชภัฏเพชรบุรี มีอธิการบดี 2 ท่าน ตามลำดับ ดังนี้  1. ผศ.ดร. ปัญญา การพานิช ดำรงตำแหน่งปี 2538-2546(สองวาระ) 2. ผศ.ดร. เอกศักดิ์ บุตรลับ ดำรงตำแหน่งปี 2546-2547 มีนายกสภาประจำสถาบันท่านแรก คือ ดร. สุเมธ ตันติเวชกุล ดำรงตำแหน่งปี 2537-2547 สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มรภ.พบ. (PBRU)

สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มรภ.พบ. (PBRU)

สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มรภ.พบ. (PBRU)

ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มรภ.พบ. (PBRU)

นายกสภาสถาบันราชภัฏเพชรบุรี ปี 2537-2547 นายกสภาสถาบันราชภัฏเพชรบุรี ปี 2537-2547 ท่านเป็นลูกเกิดจังหวัดเพชรบุรี เลขาธิการคณะกรรมการ กปร. กรรมการและเลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นายกสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มรภ.พบ. (PBRU)

นายกสภาสถาบันราชภัฏเพชรบุรี ปี 2537-2547 นายกสภาสถาบันราชภัฏเพชรบุรี ปี 2537-2547 แนวคิดในการพัฒนาสถาบันราชภัฎเพชรบุรี พัฒนาสถาบันให้เป็นตัวอย่างในเรื่องสภาพแวดล้อม เช่น การบำบัดน้ำเสีย การกำจัดขยะ ตั้งชมรมให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการพัฒนาสถาบัน สถาบันควรเป็นศูนย์ข้อมูลท้องถิ่นที่สามารถบริการประชาชนและหน่วยงานต่างๆได้ บริเวณสถาบัน บริเวณบ้านพักอาจารย์ ควรปรับปรุงให้ร่มรื่น มีภูมิทัศน์สวยงาม พัฒนาท้องถิ่น พระราชวัง วัด โดยดำเนินให้สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น มุ่งพัฒนาสถาบันให้เป็นมหาวิทยาลัยส่วนท้องถิ่น สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มรภ.พบ. (PBRU)

มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี พ.ศ. 2547 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดชฯ มีพระบรม ราชโองการโปรดเกล้าฯ ยกฐานะเป็น “มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี” ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 มีอธิการบดี 2 ท่าน ตามลำดับ ดังนี้ 1. ผศ.ดร. เอกศักดิ์ บุตรลับ ดำรงตำแหน่งปี 2547-2552 2. ผศ.ดร. นิวัติ กลิ่นงาม ดำรงตำแหน่งปี 2552-ปัจจุบัน นายกสภามหาวิทยาลัย คือ พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ ดำรงตำแหน่งปี 2547-ปัจจุบัน สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มรภ.พบ. (PBRU)

สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มรภ.พบ. (PBRU)

สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มรภ.พบ. (PBRU)

พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มรภ.พบ. (PBRU)

นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ปี 2547-ปัจจุบัน นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ปี 2547-ปัจจุบัน ท่านเป็นลูกเกิดจังหวัดเพชรบุรี อดีตผู้บัญชาการทหารบกและผู้บัญชาการทหารสูงสุด ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี นายกรัฐมนตรี คนที่ 24 ของประเทศไทย ประธานมูลนิธิพิทักษ์อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ อดีตสมาชิกวุฒิสภา สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มรภ.พบ. (PBRU)