สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Homeward& Rehabilitation system
Advertisements

FPL: Family Practice Learning การฝึกปฏิบัติ โดยใช้ รพช. เป็นฐาน
การปรับค่าตอบแทน สำหรับกำลังคน ด้านสาธารณสุข
รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System : DHS)
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
การพัฒนาตัวชี้วัดสุขภาพผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาจังหวัดลำพูน Development of Elderly Health Indicators in Thailand.
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของรพ.สต.
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของรพ.สต.
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
การพัฒนาศักยภาพ อสม. ปี 2554
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบบริการโรงพยาบาล
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
25/07/2006.
ระบบHomeward& Rehabilation center
การรับรองและเชิดชูเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ DISTRICT HEALTH SYSTEM ACCREDITATION AND APPRECIATION (DHSA)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
คณะทำงานกลุ่มที่ 1 ลำปาง เชียงราย อุตรดิตย์ ลำพูน พะเยา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ข้อเสนอการพัฒนา รพ.สต. เขตตรวจราชการที่ 3
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การดำเนินการ รพ.สต. เขตตรวจราชการ ที่ 12
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวงสาธารณสุข ปี 2557
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ District Health System (DHS)
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
การบริหารและพัฒนาบุคลากร ในหน่วยบริการปฐมภูมิ เขต ๘
หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
ยุทธศาสตร์การเสริมพลัง
ผลการดำเนินงาน แม่บ้านสาธารณสุข
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
กลุ่มงานทันตสาธารณสุข สสจ.เลย
กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
ศูนย์พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
Health Referral System for Care of People with Diabetics foot
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การพัฒนา คป.สอ/รพ.สต.ติดดาว
ผลลัพธ์ปี 2556 สำหรับทีมงานdhs
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
บ้านเลขที่ 11/7 Family Model สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
DHS,FCT 3P + ข้อเสนอ.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
นโยบายการดำเนินงานเขตสุขภาพที่ 9 นครชัยบุรินทร์
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
Company LOGO รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน 20 ตุลาคม 2557.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย การฝึกอบรมด้านเวชศาสตร์ครอบครัว สำหรับทีมสหสาขาวิชาชีพเพื่อการพัฒนาบริการปฐมภูมิ Family Medicine Workshop For Multidisciplinary Team สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย

วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาสมรรถนะด้านเวชปฏิบัติครอบครัว (องค์ความรู้ ทักษะ และ เจตคติ) อย่างเป็นระบบ ให้กับแพทย์และทีมสห วิชาชีพ เพื่อเพิ่มประสบการณ์เวชปฏิบัติครอบครัว โดยใช้ ครอบครัว ชุมชน และระบบบริการสาธารณสุขระดับอําเภอ เป็นฐานฝึกอบรม เพื่อพัฒนาบริการปฐมภูมิในชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ

หลักการของการจัดการเรียนรู้ การเรียนแบบผู้ใหญ่ (Adult learning) เรียนรู้จากการปฏิบัติผ่านการดำเนินโครงการในพื้นที่ และ จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Learning By Doing /Interactive learning & Sharing) เรียนรู้หลักการและทฤษฎีเชิงวิชาการ เรียนเป็นทีม (Team approach) เพื่อเพิ่มสมรรถนะของ ทีม พร้อมกับเพิ่มความเข้มแข็งให้กับระบบบริการ (Project based + Model Development)

เป้าหมาย/ระยะเวลา/งบประมาณ เป้าหมาย : ทุกอำเภอๆละ 5 คน รวม 70 คน ระยะเวลาการอบรม : 5 สัปดาห์ ภายใน 2 เดือน (กุมภาพันธ์ – มีนาคม 2557 จำนวน 5 สัปดาห์ๆละ 2 วัน) งบประมาณ : จาก สปสช. ประมาณ 230,000-240,000 บาท) (จากงบส่วนที่ 2: งบเสริมสร้างความเข้มแข็งระบบบริการปฐมภูมิ )

องค์ประกอบผู้เรียน ประกอบด้วยทีมสุขภาพอำเภอ (Learning Team) ทุกอำเภอๆ ละ 5 คน ดังนี้ แพทย์ที่ปฏิบัติงานใน รพช./ศสม./รพ.สต. (1) ทีมสหวิชาชีพ (ทันตแพทย์,เภสัช,นักกายภาพ,แพทย์แผนไทย) (2) พยาบาลเวชปฏิบัติ จาก รพ.และ รพ.สต.) (2)

(ร่าง) หลักสูตร 5 สัปดาห์ ระยะเวลา หลักสูตร สัปดาห์ที่ 1 (1-2 ก.พ.57) Pre-test principle of family medicine Communication skill Dialogue สัปดาห์ที่ 2 (15-16 ก.พ.57) Practice management Family system and assessment/LGBT WWF couple, sexual health Home care intervention and FM tools สัปดาห์ที่ 3 (1-2 มี.ค.57) WWF chronicity and elderly Domestic violence How to deal with difficult patient WWF children and adolescence

(ร่าง) หลักสูตร 5 สัปดาห์ ระยะเวลา หลักสูตร สัปดาห์ที่ 4 (15-16 มี.ค.57) WWF palliative and end of life care WWF Diabetics patient ชุดตรวจเท้า Patient-centered Medicine Primary care concept and Community-oriented primary care สัปดาห์ที่ 5 (29 - 30 มี.ค.57) นำเสนอ difficult family/Home visit Post test /feedback

ผลที่คาดว่าจะได้รับ ผู้เข้าอบรมเข้าใจหลักการสำคัญของเวชศาสตร์ ครอบครัว และเวชปฏิบัติปฐมภูมิทั้งยังสามารถ นําไปประยุกตใช้ได้จริง ผู้เข้าอบรมให้การดูแลผู้ป่วยและครอบครัวได้ อย่างมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ผู้เข้าอบรมเข้าใจหลักการบริหารจัดการระบบ บริการสุขภาพปฐมภูมิให้มีคุณภาพมากขึ้น