งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การวิเคราะห์ภาระงานบุคลากร ด้านการแพทย์และสาธารณสุขในสังกัด สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

2 หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
ข้อมูลที่ใช้ จากระบบรายงานที่มี ไม่เป็นภาระ โดยเก็บใหม่น้อยที่สุด บุคลากร จำแนกเป็น 2 กลุ่ม : บริการ และ อำนวยการ, สนับสนุน กำหนดเกณฑ์ขั้นต่ำ กำหนดเพิ่มเติมสำหรับงานอื่น ๆ ที่จำเป็น (Allowance) งานปฐมภูมิ วิเคราะห์ตามเกณฑ์

3 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อวิเคราะห์ภาระงานของบุคลากรสาย วิชาชีพและสายสนับสนุนการจัดบริการ เพื่อจัดทำกรอบอัตรากำลัง ประกอบการ พิจารณาจัดทำข้อเสนอการขอกำหนด ตำแหน่งใหม่ในปีงบประมาณ 2557 และ เพื่อวิเคราะห์ภาระงานของบุคลากรสาย อำนวยการและสนับสนุนการปฏิบัติงานของ หน่วยงาน เพื่อจัดทำกรอบอัตรากำลังในการ บริหารพนักงานกระทรวงสาธารณสุข

4 คำจำกัดความ 1. บุคลากรสายวิชาชีพ ประกอบด้วย 1.1 กลุ่มงานบริการหลัก : แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร พยาบาลวิชาชีพ นักเทคนิคการแพทย์ นักกายภาพบำบัด นักรังสีการแพทย์ นักกิจกรรมบำบัด แพทย์แผนไทย นักวิชาการสาธารณสุข (ในงานบริการปฐมภูมิ) 1.2 กลุ่มบุคลากรในงานบริการเฉพาะด้าน : นักเทคโนโลยี หัวใจและทรวงอก นักเวชศาสตร์การสื่อความหมาย นักจิตวิทยาคลินิก นักกายอุปกรณ์ นักสังคมสงเคราะห์ นักโภชนาการ/นักกำหนดอาหาร 1.3 กลุ่มสนับสนุนบริการหลัก : จพ.สาธารณสุข จพ.ทันต สาธารณสุข จพ.เภสัชกรรม จพ.รังสีการแพทย์ จพ. วิทยาศาสตร์การแพทย์ จพ.เวชสถิติ จพ.โสตทัศนศึกษา เวชกิจฉุกเฉิน และผู้ช่วยพยาบาล

5 คำจำกัดความ 2. สายสนับสนุนการจัดบริการ ประกอบด้วย 2.1 กลุ่มอำนวยการ 2.2 กลุ่มสนับสนุนการปฏิบัติงานของ หน่วยงาน

6 ภาระงาน (workload) ภาระงาน : ปริมาณงาน เช่น บริการผู้ป่วยนอก มี หน่วยนับเป็นครั้ง (Case Visit) คูณด้วยเวลาที่ใช้ใน การให้บริการแต่ละครั้ง เช่น พยาบาลใช้เวลาดูแลผู้ป่วยนอก 12 นาที (0.2 ชั่วโมง) ต่อครั้ง มีปริมาณงานผู้ป่วยนอก จำนวน 57,000 ครั้งต่อปี ดังนั้น ภาระงาน มีค่าเท่ากับ 57,000 x 0.2 = 11,400 ชั่วโมงต่อปี

7 หน่วยนับปริมาณการให้บริการ (Unit of Services) และแหล่งข้อมูล
งาน/กิจกรรม หน่วยนับ แหล่งข้อมูล OPD ไม่นับรวม ER OP Visit (ครั้ง/ปี) เวชระเบียน รพ./ ศูนย์คอมฯ ER Emergent+urgent (ครั้ง/ปี) แผนกฉุกเฉิน/ Non urgent (ครั้ง/ปี) IPD รวมทั้งหมด วันนอน (วัน/ปี) ICU กลุ่มการพยาบาล/ศูนย์คอมฯ OR Major Surgery (ครั้ง/ปี) ห้องผ่าตัด/เวชระเบียน รพ. LR ห้องผ่าตัด/ เวชระเบียน รพ. - คลอดทั้งหมด ครั้ง/ปี - คลอดผิดปกติ ยกเว้น C/S

8 หน่วยนับปริมาณการให้บริการ (Unit of Services) และแหล่งข้อมูล
งาน/กิจกรรม หน่วยนับ แหล่งข้อมูล ทันตกรรมใน รพ. - ตรวจ ไม่มีหัตถการ Case visit (ครั้ง/ปี) แผนกทันตกรรม/ศูนย์คอมฯ - ตรวจรักษามีหัตถการ ทันตกรรม งานอนามัย รร. จำนวนนักเรียน (คน) ทันตกรรมนอก รพ./ชุมชน เช่น การออก รพ.สต. การออกหน่วยเคลื่อนที่ จำนวนผู้รับบริการ (คน) เภสัชกรรม ผู้ป่วยนอก (OPD) จำนวนใบสั่งยา (ใบ/ปี) แผนกเภสัชกรรม เภสัชกรรม ผู้ป่วยใน (IPD)

9 หน่วยนับปริมาณการให้บริการ (Unit of Services) และแหล่งข้อมูล
งาน/กิจกรรม หน่วยนับ แหล่งข้อมูล บริการเทคนิคการแพทย์ แผนกเทคนิคการแพทย์ - จำนวน Lab test ของผู้ป่วยนอก test/ปี - จำนวน Lab test ของผู้ป่วยใน - จำนวนผู้ป่วยนอกรับบริการ Lab - จำนวนผู้ป่วยในรับบริการ Lab บริการกายภาพบำบัดใน รพ. แผนกกายภาพบำบัด - ผู้ป่วย Neuro ครั้ง/ปี - ผู้ป่วย Ortho - ผู้ป่วย Cardio-Pulmonary - ผู้ป่วยอื่นๆ บริการกายภาพบำบัดในชุมชน จำนวนการบริการ (คน/ปี)

10 หน่วยนับปริมาณการให้บริการ (Unit of Services) และแหล่งข้อมูล
งาน/กิจกรรม หน่วยนับ แหล่งข้อมูล บริการรังสีการแพทย์ แผนกรังสีการแพทย์ -รังสีทั่วไป คน/ปี - รังสีพิเศษ จำนวนผู้บริการกิจกรรมบำบัด ใน รพ. แผนกกิจกรรมบำบัด จำนวนผู้บริการกิจกรรมบำบัด ในชุมชน บริการ EMS ผู้ป่วยฉุกเฉินมาก (แดง) ครั้ง/ปี แผนกฉุกเฉิน บริการ EMS ผู้ป่วยฉุกเฉิน (เหลือง)

11 FTE : Full Time Equivalent
อัตราชั่วโมงเทียบเท่าพนักงานประจำ ตามเวลา มาตรฐานการทำงานของข้าราชการ 1 คน โดยกำหนดให้ทำงาน 7 ชั่วโมงต่อวัน 240 วันต่อปี 1 FTE มีค่าเท่ากับ 1,680 ชั่วโมงต่อปี FTE คำนวณจากภาระงาน (Workload) หารด้วย เวลามาตรการทำงาน เช่น ตามตัวอย่าง ภาระงานของพยาบาล 11,400 ชั่วโมงต่อปี ดังนั้น พยาบาลจะมี FTE เท่ากับ 11,400/1,680 = 6.78 FTE

12 FTE : Full Time Equivalent
3. ภาระงาน จากการทำงานอื่น ๆ เช่น การบริหาร วิชาการ งานพัฒนาคุณภาพ นอกเหนือจากภารกิจหลัก จะ กำหนดให้เพิ่มเป็น FTE Allowance (เพิ่มเติมให้ตาม ภาระงานอื่น ๆ นอกเหนืองานบริการ) ได้อีกประมาณ ร้อยละ ของ FTE ทั้งหมด 4. บุคลากรสายงานที่จำเป็นสำหรับหน่วยบริการ หรือ หน่วยบริการ ที่คำนวณภาระงาน แล้วได้น้อย แต่ เป็นงานที่จำเป็นต้องจัดให้มีบริการ จะกำหนดจำนวน บุคลากรขั้นต่ำ เพื่อเป็นหลักประกันการบริการ

13 การคำนวณภาระงาน และ FTE
1. การหาค่าภาระงาน : ปริมาณงาน คูณกับ % สัดส่วนงาน และคูณด้วยเวลาการทำงาน แต่ละ กิจกรรม ตามเวลามาตรฐานวิชาชีพ หรือการ หาค่าเฉลี่ย 2. การหา FTE : นำภาระงานที่ได้ หารด้วย 1680 ชั่วโมง 3. การกำหนดค่าขั้นต่ำ กรณีคำนวณ FTE ได้ต่ำ เช่น แพทย์ FTE ไม่ถึง 2 ให้ขั้นต่ำ 2 พยาบาล FTE ไม่ถึง 20 ให้ขั้นต่ำ 15 เป็นต้น

14 การคำนวณภาระงาน และ FTE


ดาวน์โหลด ppt หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google