งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี

2 การเปลี่ยนแปลง - แผน จาก แผนจัดบริการ (ตามทิศทางของกองทุนฯ) > เพิ่ม แผนแก้ไขปัญหาของจังหวัด หรือ มาตรการแก้ไขปัญหา ลดการแยกส่วนทำงาน สสจ.- CUP - รพสต > เกิดการทำงานเป็นทีม ช่วยกันคิด มีการถ่ายทอดแผนแก้ไขปัญหาสู่แผนปฏิบัติงาน จาก project ย่อยๆ เห็นมาตรการหลัก / ทิศทางของการทำงานมากขึ้น มีการชี้เป้าหมายในเชิงกลยุทธ์ จากข้อมูลที่มีอยู่ เพิ่มเติม/ประยุกต์จากทิศทางจากส่วนกลาง

3 การเปลี่ยนแปลง - แผน การจัดสรรงบกองทุนและทรัพยากร มีการกระจายตามแผนแก้ปัญหา ไม่กระจุกตัวอยู่ในกลุ่มวัยเรียน เหมือนปี 54 ขยายบริการทันตฯ เข้าถึงประชาชนกลุ่มอื่นๆ (นอกกลุ่มเป้าหมายหลัก) CUP มีแผนพัฒนางานในพื้นที่ของตน แผนแก้ไขปัญหา / แผนบูรณาการ ยังไม่แสดงวิธีการแก้ไขปัญหาที่ชัดเจน ที่เฉพาะเจาะจงต่อปัญหา (what who where) ไม่ระบุวิธีกำกับติดตาม ประเมินผลรายมาตรการ

4 การเปลี่ยนแปลง - บริหารจัดการ
มีการปรับระบบบริการให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย เช่น โซนบริการ จัดคนหมุนเวียน แต่ ยังไม่สามารถเข้าถึงเด็กปฐมวัย มีการพัฒนาระบบรายงาน จังหวัดวิเคราะห์ และ feedback พื้นที่ การวิเคราะห์ coverage ในกลุ่มประชากร พัฒนาการติดตามการใช้เงินกองทุนระดับ CUP

5 การเปลี่ยนแปลง - บริหารจัดการ
การสนับสนุน cup โดยจังหวัด ชัดเจนมากขึ้น (แผนจัดสรรกำลังคน/ครุภัณฑ์ แผนพัฒนาศักยภาพ แผนสนับสนุนบริการระดับปฐมภูมิ) ปรับการนิเทศ เหมาะสมกับบริบทของจังหวัด นิเทศถึงระดับพื้นที่ -> ทราบปัญหาการทำงาน การพัฒนาบทบาท ทพ. CUP เช่น การสนับสนุนการจัดบริการในรพสต เป็นทีมพี่เลี้ยงพัฒนาหน่วยปฐมภูมิ oral health manager ดูแลงานภาพรวมทั้งอำเภอ

6 ข้อเสนอแนะ ข้อมูลที่นำมาใช้วิเคราะห์ปัญหา เพื่อทำแผน ควรมีทั้งด้าน demand site และ supply site ข้อมูลสาเหตุของปัญหาในพื้นที่ และ วิเคราะห์ปัญหาอย่างแยกแยะ ไม่ดูแค่ภาพรวม มาตรการ intervention เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ มีความชัดเจน จะเลือกจัดการที่จุดใด ด้วยวิธีการใด และติดตาม ประเมินผล จัดการให้สมดุล งานป้องกัน VS การทำงานส่งเสริม การติดตามสนับสนุนภาคีเครือข่าย

7 ข้อเสนอแนะ ต้องสื่อสารแผนให้ผู้เกี่ยวข้องทุกระดับเข้าใจ ระบุบทบาทของภาคส่วนต่างๆ ให้ครบ ให้เชื่อมโยง ถ้าไม่เห็นภาพรวม ระดับปฏิบัติจะทำงานตามตัวชี้วัด โดยไม่เข้าใจ ไม่ลดสาเหตุของปัญหา จังหวัดติดตามแผน CUP และเป็นพี่เลี้ยงการ ดำเนินงานของเครือข่ายบริการ การติดตามงานในพื้นที่ พัฒนาการบริหารงานระดับอำเภอให้เข้มแข็ง เป็น oral health team ไม่แยกส่วน รพ. / รพสต. ทันตแพทย์ เป็น manager ดูแลงานภาพรวมอำเภอ ทภ. สรุปวิเคราะห์งาน นำเสนอข้อมูล ปัญหา บาง CUP จนท.สธ.สามารถวิเคราะห์งานทันตฯ ได้

8 ขอบคุณค่ะ

9

10 ปัญหา & ข้อเสนอแนะ ปัญหา ข้อเสนอแนะ การจัดบริการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก
ระดับปฐมภูมิ ยังไม่มีประสิทธิภาพ และ ไม่ครอบคลุมประชากรกลุ่ม เป้าหมายสำคัญ ยกเว้น กลุ่มวัยเรียน ที่มีการจัดโซนบริการ ให้ครอบคลุมทุกโรงเรียน ระดับ CUP สร้าง ทีมทันตสุขภาพอำเภอ (รพ. + สสอ. + รพ.สต.) เพิ่มบทบาท ทภ.ชำนาญงาน ทพ.CUP เพิ่มบทบาทเป็น ผู้จัดการเครือข่ายอำเภอ Oral Health Manager วิเคราะห์ ดูแลงานภาพรวม -พัฒนางานทันตฯระดับปฐมภูมิ ทั้งระยะสั้น เช่น ฝึกเพิ่มทักษะ ทีมพี่เลี้ยง และมีแผนระยะยาว รองรับนักเรียนทุน ทภ.2ปี การพัฒนาทีมทันตสุขภาพอำเภอ เน้นให้ ทพ.CUP เป็นผู้นำ เป็น manager วิเคราะห์ ดูแลงานภาพรวม ในขณะที่ต้องพัฒนาทันตาภิบาล (ระดับชำนาญงาน) ให้มีทักษะเพิ่มขึ้นด้านรวบรวมข้อมูลและสรุปงานในความรับผิดชอบ ของ รพ.สต. และโซนบริการ เพื่อเป็นข้อมูลใช้วิเคราะห์ วางแผนแก้ไขปัญหาพื้นที่

11 ปัญหา & ข้อเสนอแนะ ปัญหา ข้อเสนอแนะ การจัดบริการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก
ระดับปฐมภูมิ ยังไม่มีประสิทธิภาพ และไม่ครอบคลุมประชากรกลุ่ม เป้าหมายสำคัญ ระดับจังหวัด กำหนด ทิศทางการทำงาน วิธีการกำกับติดตาม และประเมินผล ระดับอำเภอ/จังหวัด ลดปัญหาข้อมูลไม่ครบถ้วน หรือการดำเนินงานในพื้นที่ล่าช้า -พัฒนา ทีมทันตสุขภาพอำเภอ (Oral Health Manager และ ทภ.) โดยกิจกรรมKM หรือ workshop ติดตามสนับสนุน CUP อย่างใกล้ชิด และติดตามงานถึงระดับพื้นที่ (รพสต. รร. ศดล.) การพัฒนาทีมทันตสุขภาพอำเภอ เน้นให้ ทพ.CUP เป็นผู้นำ เป็น manager วิเคราะห์ ดูแลงานภาพรวม ในขณะที่ต้องพัฒนาทันตาภิบาล (ระดับชำนาญงาน) ให้มีทักษะเพิ่มขึ้นด้านรวบรวมข้อมูลและสรุปงานในความรับผิดชอบ ของ รพ.สต. และโซนบริการ เพื่อเป็นข้อมูลใช้วิเคราะห์ วางแผนแก้ไขปัญหาพื้นที่ และให้ข้อเสนอแนะระดับจังหวัดได้

12 ปัญหา ข้อเสนอแนะ การจัดบริการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ระดับปฐมภูมิ
ยังไม่มีประสิทธิภาพ และไม่ครอบคลุมประชากรกลุ่ม เป้าหมายสำคัญ ระดับเขต -พัฒนา สสจ. และ CUP ด้านกำกับติดตาม วิเคราะห์ประเมินผล -เป็นที่ปรึกษา/พี่เลี้ยง พัฒนา ทีมทันตสุขภาพอำเภอ ระดับส่วนกลาง -แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่อง ปากทุกระดับ -หลักสูตรพัฒนาผู้จัดการเครือข่าย ระดับอำเภอ และสร้างแรงจูงใจ -พัฒนา ระบบข้อมูลทันตสาธารณสุข ที่พื้นที่สามารถใช้ประโยชน์ได้จริง


ดาวน์โหลด ppt บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google