การบริหารและพัฒนาบุคลากร ในหน่วยบริการปฐมภูมิ เขต ๘

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุน ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
Advertisements

กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพ ทรัพยากรบุคคล และสุขภาพภาคประชาชน
กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพ ทรัพยากรบุคคล และสุขภาพภาคประชาชน
กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพ ทรัพยากรบุคคล และสุขภาพภาคประชาชน
รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
เป้าหมาย ตัวชี้วัด ปี 2557.
ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของรพ.สต.
สาขาทารกแรกเกิดและสูติกรรม
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการเพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติ
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพ ระดับอำเภอ/ตำบล มุ่งสู่ คปสอ./รพ.สต.ติดดาว
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังคน (CHRO)
การจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ เขตพื้นที่บริการเครือข่ายที่ 2
นโยบาย 1) มีระบบข้อมูลสุขภาพผู้ป่วยในพื้นที่ ที่เป็นปัจจุบัน และสามารถเชื่อมโยงระหว่าง รพ.สต.กับ รพ.แม่ข่ายได้ 2) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีการลงทะเบียนที่
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
ประสานงานสาธารณสุขระดับจังหวัดสงขลา
พื้นที่รับผิดชอบของ นสค.
ทิศทางการจัดการศึกษา โรงเรียนเจริญราษฏร์วิทยา
โครงการร่วมผลิตเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงสาธารณสุขศาสตร์ (ทันตสาธารณสุข) เพื่อปฏิบัติงานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล.
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
กรอบการจัดทำแผนยุทธศาสตร์สุขภาพจังหวัด แผนยุทธศาสตร์สุขภาพจังหวัด
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
ข้อเสนอการพัฒนา รพ.สต. เขตตรวจราชการที่ 3
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข
จากสำนักงานนโยบายและแผน
“เบาหวาน ความดัน ดูแลถ้วนทั่วด้วยหมอครอบครัว” รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ เพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการ.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
ดำเนินงานอนามัยวัยทำงาน ปี 2555
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
ขั้นตอนการประเมินลูกจ้างชั่วคราวเงินบำรุง
หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
แผนงานดูแลผู้สูงอายุ
Point of care management Blood glucose meter
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
ตัวชี้วัดตามรับรองปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
ศูนย์พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
วาระประชุม กวป. งานแพทย์แผนไทย 2 ธ.ค โดย วัชรี แก้วสา
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การพัฒนา คป.สอ/รพ.สต.ติดดาว
ประชุมประสานแผนทันตฯ จังหวัด หนองบัวลำภู ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ห้องประชุม สสอ. เมือง.
การพัฒนาสุขภาพ : กลุ่มเด็กวัยเรียน
๒ ปี.... ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ พ. ศ. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๔ ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ พ. ศ. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๔ ๑. เพิ่มศักยภาพและขยาย บริการปฐมภูมิ
การประชุมคณะอนุกรรมการ
แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุของพัทลุง
ด้านการดำเนินงานการตั้งครรภ์หญิง วัยรุ่น o ๑. มาตรการด้านบริหารจัดการ การประชุมพิจารณา กรอบแนวทางการประเมินผลตามตัวชี้วัด และ มาตรฐานการดำเนินงานอำเภออนามัยการเจริญ.
ระบบสุขภาพชุมชน : คุณค่า และความดีงาม ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๖ มหกรรมกองทุนหลักประกัน สุขภาพระดับท้องถิ่น.
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
การเลือกตั้งผู้แทนพนักงานกระทรวงสาธารณสุข ตามหนังสือ สธ ว 152 ลว
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
Service Plan 10 สาขา ๑) หัวใจและหลอดเลือด Ac. STEMI Ac.Cerebral Infaction ๒) ทารกแรกเกิด ๓) มะเร็ง ๔) อุบัติเหตุ ๕) ๕ สาขาหลัก( อายุรกรรม,ศัลยกรรม,ศัลยกรรมกระดูก,สูตินรีเวชกรรม,กุมารเวชกรรม)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารและพัฒนาบุคลากร ในหน่วยบริการปฐมภูมิ เขต ๘ ประเด็นยุทธศาสตร์:- การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ให้มีคุณภาพ ยุทธศาสตร์ที่ ๒:- การพัฒนาบุคลากร เป้าหมาย :- มีบุคลากรเพียงพอ มีสมรรถนะที่สามารถดูแลสุขภาพประชาชนได้ในระดับปฐมภูมิ

การพัฒนากำลังคนในหน่วยบริการปฐมภูมิ ตำแหน่ง PCU ขนาดใหญ่/เขตเมือง (ปชก. > ๓๐,๐๐๐/๑๐,๐๐๐) PCU ขนาดทั่วไป (ปชก. <๑๐,๐๐๐) ๑. ผอ.รพ.สต./หน.PCU ๑ ๒. แพทย์เวชปฏิบัติ ครอบครัว(ประจำ) - ๓. พยาบาลวิชาชีพ ๒ ๔. นวก.สธ./จพ.สธ. ๕. นักการแพทย์แผนไทย ๖. จพ. ทันตสาธารณสุข ๗. จพ. เภสัชกรรม รวม ๘ คน ๕ คน (หรือ ๑:๑,๒๕๐ คน )

บริหารจัดการใน CUP / ในจังหวัด, ให้ทุนเรียน, ใช้มาตรการด้านการเงิน/ การสรรหากำลังคนเพื่อปฏิบัติงานในหน่วยบริการปฐมภูมิ ตำแหน่ง แนวทางการสรรหา เป้าหมาย ๑. แพทย์เวชปฏิบัติครอบครัว(ประจำ) บริหารจัดการใน CUP / ในจังหวัด, ให้ทุนเรียน, ใช้มาตรการด้านการเงิน/ การบริหาร ๖๗ คน ๒.นักการแพทย์แผนไทย ประสานสถาบันการศึกษา, ให้ทุนเรียน ๓. จพ. ทันตสาธารณสุข ให้ทุนเรียนปีละ ๔๐ คน ๒๐๐ คน ๔. จพ. เภสัชกรรม ให้ทุนเรียน

แพทย์ พยาบาลวิชาชีพ นวก.สธ./จพ.สธ. จพ.เภสัชฯ การพัฒนาสมรรถนะบุคลากรหน่วยบริการปฐมภูมิ เป้าหมาย :- ร้อยละ ๓๐, ๕๐, ๗๐, ๙๐, ๑๐๐ ในปี๕๕ – ๕๙ ตามลำดับ โดยสำนักงานสาธารณสุขเขต ๘ ออกวุฒิบัตรรับรองความรู้ ให้ผู้ที่ผ่านการพัฒนาสมรรถนะ หลักสูตร กลุ่มเป้าหมาย วิธีการพัฒนา ๑. ผอ.รพ.สต. ผอ.รพ.สต./หน.PCU อบรม ๒. เวชศาสตร์ครอบครัว (ปรับตามตำแหน่ง) แพทย์ พยาบาลวิชาชีพ นวก.สธ./จพ.สธ. จพ.เภสัชฯ ศึกษาทางไกล/ศึกษาด้วยตนเองจากคู่มือ/อบรม ๓. วิทยากรกระบวนการ/การทำงานเป็นทีมและการสร้างเครือข่ายในชุมชน ตัวแทนรพ.สต.ที่ทำหน้าที่ฯดังกล่าวรพ.สต.ละ ๑ คน ประชุมเชิงปฏิบัติการ

การพัฒนาสมรรถนะบุคลากรหน่วยบริการปฐมภูมิ(ต่อ) หลักสูตร กลุ่มเป้าหมาย วิธีการพัฒนา ๔. ทักษะการดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้รับบริการ MCH ที่รพ. (OPD ER ANC LR PP) พยาบาลวิชาชีพ นวก.สธ./จพ.สธ. หมุนเวียนปฏิบัติงานที่รพ.(on the job training) ๕. ทักษะ CPR, IC, Counseling ผอ.รพ.สต./หน.PCU แพทย์ พยาบาลวิชาชีพ นวก.สธ./จพ.สธ. จพ.เภสัชฯ จพ.ทันตฯ ๖. กระบวนการคุณภาพ (PDCA RM CQI) KM บุคลากรใหม่/บุคลากรเก่าที่ไม่เคยได้รับการอบรม ประชุมเชิงปฏิบัติการ ๗. มหกรรมคุณภาพระดับ อำเภอ/จังหวัด/เขต รพ. รพ.สต. สสอ. อสม. ประชุมนำเสนอผลงาน/วิพากษ์

ประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาสมรรถนะบุคลากรหน่วยบริการปฐมภูมิ(ต่อ) หลักสูตร กลุ่มเป้าหมาย วิธีการพัฒนา ๘. เทคนิคการนิเทศหน้างาน QIT อำเภอละ ๒ คน (รพ.๑ คน, สสอ. ๑ คน) ประชุมเชิงปฏิบัติการ ๙. เพิ่มพูนความรู้เพื่อสอบขึ้น ทะเบียนรับใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพฯ พยาบาลฯ ๓,๐๐๐ คน ที่ยังสอบไม่ผ่าน ติวร่วมกัน

การสร้างขวัญกำลังใจ ผอ.รพ.สต.ขนาดใหญ่/เขตเมือง เลื่อนเป็นระดับชำนาญการพิเศษ จพ.ทันตฯ/จพ,เภสัชฯเลื่อนเป็นนวก.ในสายงานเดิมได้ การคัดเลือกบุคลากรดีเด่น/ผู้มีผลงานดีเด่น/รพ.สต.ดีเด่นระดับเขต บุคลากรดีเด่น/ผู้มีผลงานดีเด่น/รพ.สต.ดีเด่นระดับเขตได้ศึกษาดูงานในต่างประเทศ

...ขอเป็นกำลังใจ ให้กับ ทุก ๆ คน...