งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
นายแพทย์ชูวิทย์ ลิขิตยิ่งวรา หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข

2 การบริหารงบ P&P โดยมติของคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
งบจัดซื้อส่วนกลาง งบ P&P เน้นชุมชน งบ P&P expressed demand งบ P&P Area-based งบสร้างสุขภาพจาก สสส. กองทุนตำบล งบสนับสนุนสุขภาพตำบล งบเขต 30% งบจังหวัด 70% งบสร้างสุขภาพจาก อปท.

3 กรอบแนวคิด ๑. ระดับหน่วยงานในส่วนกลาง : ปรับเปลี่ยนบทบาทของกระทรวง เขตตรวจราชการ สสจ. และหน่วยคู่สัญญาระดับอำเภอ ๒. ระดับเขต : เขตตรวจราชการ สธ. และ สปสช.เขตพื้นที่ จัดทำกรอบงานสร้างเสริมสุขภาพเขต เพื่อรองรับงบ PP Area-based ๓๐% ๓. ระดับจังหวัด : สสจ. เป็นแกนในการจัดทำกรอบแผนงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคจังหวัด คู่ขนานกับเขตเพื่อรองรับ Area-based ๗0 %

4 แนวทางการบริหารงบประมาณ
อาศัยหลักการบูรณาการ ๓ ประการ คือ ๑. การบูรณาการกรอบแนวทางแก้ไขปัญหา ๒. การบูรณาการการใช้ทรัพยากร ๓. การบูรณาการด้านการกำกับติดตามและประเมินผล

5 การบูรณาการกรอบแนวทางการแก้ไขปัญหาสุขภาพ
๑. ยุทธศาสตร์การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับประเทศ มี ๖ นโยบายเร่งด่วน ได้แก่ ๑.๑ โครงการหยุดยั้งวัณโรค ๑.๒ โครงการโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัวเพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ๑.๓ โครงการพัฒนาระบบส่งต่อผู้ป่วยในเครือข่ายบริการสุขภาพ ๑.๔ โครงการอาหารปลอดภัยเด็กไทยฉลาด ๑.๕ โครงการเฝ้าระวังป้องกัน และควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีไทย) ๑.๖ โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการและการเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

6 การบูรณาการกรอบแนวทางการแก้ไขปัญหาสุขภาพ
๒. ยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาพื้นที่ เครื่องมือที่ใช้ในการแก้ปัญหาคือ ๒.๑ กระบวนการจัดทำแผนบูรณาการแก้ปัญหาพื้นที่เชิงรุก ๒.๒ ดำเนินงานในลักษณะร่วมกันคิด ช่วยกันทำ ๒.๓ ให้มีความสอดคล้องกันทั้งยุทธศาสตร์ระดับประเทศ ระดับเขต และระดับจังหวัด

7 สรุปแนวทางการแก้ไขปัญหาในพื้นที่
๑. สถานการณ์และแนวโน้มของปัญหา ๒. ปัจจัยที่ทำให้เกิดปัญหา ๓. ความร่วมมือในการดำเนินการลักษณะ “ร่วมกันคิด ช่วยกันทำ” ๔. การบูรณาการกิจกรรมและทรัพยากรในการแก้ปัญหา ๕. ความสอดคล้องระหว่างยุทธศาสตร์

8 กรอบการบริหารแผนงาน งบประมาณ
ยุทธศาสตร์การส่งเสริมและป้องกันโรคระดับประเทศ ยุทธศาสตร์จังหวัด อปสข. คกก.PP เขต ยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาสุขภาพ ส่วนกลาง เขต จังหวัด หน่วยงานอื่น ๆ สธ. สปสช. PPA (30%) คกก. PP จังหวัด พัฒนา* ศักยภาพ นวัตกรรม* นำร่อง อปท. สสส. องค์กรเอกชน Non UC (จังหวัด) PP National priority* (สธ.) PPA (70%)* PP Expressed* demand PP* Community PP National priority* (จังหวัด) บูรณาการแผนระดับจังหวัด * หมายเหตุ : แหล่งงบประมาณจาก สปสช. แผนจังหวัด แผนอำเภอ แผนตำบล

9 แนวทางบูรณาการด้านทรัพยากรและงบประมาณ
แหล่งงบประมาณ ๑. งบประมาณ สธ. (งบ Non UC) ที่จัดสรรให้แต่ละจังหวัด ๒. งบสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับบุคคลของ สปสช. ที่เหมาจ่ายรายหัว ๓. งบสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค จาก สสส. ๔. งบจาก อปท. ๕. งบจากองค์กรต่างประเทศ องค์กรเอกชนที่ไม่แสวงผลกำไร (NGOs) ฯลฯ

10 แนวทางบูรณาการด้านทรัพยากรและงบประมาณ
การจัดทำแผนบูรณาการของจังหวัด ๑. แผนงานสำหรับดำเนินการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในพื้นที่ ๒. แผนพัฒนาศักยภาพของจังหวัดในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในพื้นที่ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

11 ตัวอย่างประเด็นพิจารณาการพัฒนาฯ ของจังหวัด
๑. การเสริมสร้างความเข้มแข็งในการทำงานของจังหวัด เช่น การจัดทำแผน การนิเทศ กำกับ ติดตามการปฏิบัติ การวิเคราะห์และรายงานผลการปฏิบัติงาน ๒. การพัฒนาบุคลากร ๓. การศึกษาวิจัย และจัดการความรู้ ๔. การพัฒนาระบบฐานข้อมูลสุขภาพของจังหวัด

12 ขอขอบคุณ


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google