ข้อมูลทั่วไปของอำเภอเมืองลำพูน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง ปี 2556/57
Advertisements

งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
รายงานสถานการณ์การผลิตข้าว
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
โครงสร้างที่ ก.พ. กำหนดไว้เดิม โครงสร้างที่ขอปรับปรุงใหม่
การพัฒนาลุ่มน้ำปิงตอนล่างแบบบูรณาการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เด็กหญิงชลิดา ทิฐธรรมงามดี
ความรู้พื้นฐานการเชื่อมโยงเครือข่าย
โครงการฟื้นฟูทรัพยากรสัตว์น้ำชุมชนแบบยั่งยืน ณ ลำน้ำปิง เทศบาลตำบล สันผีเสื้อ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ร่วมกับสำนักงานประมงจังหวัดเชียงใหม่
. หน่วยบริหารจัดการประมงน้ำจืดเขื่อนแม่กวง เชียงใหม่
ตำบลนาตงวัฒนา อำเภอโพนนาแก้ว จังหวัดสกลนคร
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
โครงการก่อสร้าง 1.
ส่วนฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ ของขวัญปีใหม่ในปี 2547
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ตำบลบ้านเหล่า อำเภอเจริญศิลป์
พื้นที่โครงการ 11 พื้นที่
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายเพิ่มพูน มาประกอบ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลช้างทูน อำเภอบ่อ ไร่ จังหวัดตราด.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
เขื่อนชีบน และ เขื่อนยางนาดี จังหวัดชัยภูมิ
สรุปผลการดำเนินงานโครงการ ปีงบประมาณ 2553 กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต
การดำเนินงานวิสาหกิจชุมชนจังหวัดลำพูน
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
พื้นที่ : 1,200 ไร่ 9 หมู่บ้าน : 2, 4, 6-10, 13 และ 16 เกษตรกร : 600 ครัวเรือน กำไร : 5.9 ล้านบาท พื้นที่ : 600 ไร่ 8หมู่บ้าน :
ความเป็นมา จัดตั้งตามคำสั่งกรมส่งเสริม การเกษตรที่ 384/2548 ตั้งสำนักงานเลขานุการ คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจ ชุมชน และเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน เพื่อ รองรับภารกิจตามพระราชบัญญัติ
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
กิจกรรมเด่น ประจำเดือน สิงหาคม 2554
การถ่ายโอนภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
พืชเศรษฐกิจ อำเภอเต่างอย
อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์
สำนักงานเกษตรอำเภอแก่งกระจาน
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
ตำบลคำไฮใหญ่ อำเภอดอนมดแดง จังหวัดอุบลราชธานี
สถานีวนวัฒนวิจัยแม่กา อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา
ที่ดิน 200 ไร่ จังหวัดอุดรธานี ของคุณเปรมศักดิ์ ภู่ม่วง
กิจกรรมเด่น ประจำเดือน พฤษภาคม 2554 สำนักงานเกษตรอำเภอบางแก้ว.
MRCF การเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง โดยการไถระเบิดดินดาน
“รู้รักษ์ป่า รู้รักษ์น้ำ”
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
เทคนิคการวิเคราะห์พื้นที่ และเทคโนโลยีการผลิตพืช
ผลการดำเนินงานตามระบบ MRCF อำเภอบึงนารางจังหวัดพิจิตร ปี 2557 การพัฒนาตามนโยบายและ แนวทางการส่งเสริมการเกษตร MRCF ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ของสำนักงานเกษตรอำเภอบึงนาราง.
ทิศเหนือติดต่อกับ ตำบลพิตเพียน อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทิศใต้ติดต่อกับตำบลเจ้าปลุก อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทิศตะวันออกติดต่อกับอำเภอดอนพุด.
การดูแลรักษาต้นทุเรียนเป็นโรค ชื่อจุดถ่ายทอดเรื่อง ไร่นาสวนผสม วิทยากรประจำจุด นางอุษา เปรมมิตร เบอร์ โทรศัพท์ สถานที่ดำเนินการ 46 หมู่ 7 ตำบลกระแจะ.
สำนักวิเคราะห์งบประมาณส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น
ปฏิทินการประชุม คณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค.ก.ค. ส.ค.ส.ค. ก.ย.ก.ย. ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค
โครงการฝายยางลำเซบาย ตำบลนาหมอม้า อำเภอเมือง จังหวัดอำนาจเจริญ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายมะหะหมัด โต๊ะยะลา
การเขียนรายงานผล การดำเนินงานตามระบบส่งเสริมการเกษตรมิติใหม่ (MRCF)
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลและ อำเภอทุ่ง ช้าง จังหวัดน่าน ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย จิตร เสียงกอง เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลหนองข่า อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย อัมพร เหง้ากอก เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
จุดถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบลคลองประสงค์
ศูนย์การเรียนรู้ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข้อมูลทั่วไปของอำเภอเมืองลำพูน * 15 ตำบล * 159 หมู่บ้าน * 17 ชุมชน * 1 เทศบาลเมือง * 11 เทศบาลตำบล * 4 องค์การบริหารส่วนตำบล

พื้นที่ของอำเภอเมืองลำพูน พื้นที่ทั้งหมด 301,450 ไร่ พื้นที่การเกษตรทั้งหมด 117,640 ไร่ * ที่นา 64,175 ไร่ * พืชไร่ 30 ไร่ * ไม้ผล 44,912 ไร่ * ไม้ดอก 11 ไร่ * การเกษตรอื่น ๆ 3,536 ไร่ พื้นที่อื่น ๆ 183,811 ไร่

รายได้ภาคการเกษตร ตำบล รายได้ภาคการเกษตรเฉลี่ยต่อคนต่อปี (บาท) ในเมือง 20,776 เหมืองง่า 35,000 อุโมงค์ 28384 หนองช้างคืน 29,100

รายได้ภาคการเกษตร ตำบล รายได้ภาคการเกษตรเฉลี่ยต่อคนต่อปี (บาท) ประตูป่า 35,155 ริมปิง 35,000 ต้นธง 26,091 บ้านแป้น 30,500

รายได้ภาคการเกษตร ตำบล รายได้ภาคการเกษตรเฉลี่ยต่อคนต่อปี (บาท) เหมืองจี้ 30,000 ป่าสัก 22,722 เวียงยอง 34,075 บ้านกลาง

รายได้ภาคการเกษตร เฉลี่ยรายอำเภอ 31,340 ตำบล รายได้ภาคการเกษตรเฉลี่ยต่อคนต่อปี (บาท) มะเขือแจ้ 46,429 ศรีบัวบาน 35,000 หนองหนาม 31,875 เฉลี่ยรายอำเภอ 31,340

พื้นที่ปลูกข้าวนาปรังปี 2552 พื้นที่ปลูกข้าวทั้งหมด 64,175 ไร่ พื้นที่ปลูกข้าวเจ้านาปรังจำนวน 4,015 ไร่ พื้นที่ปลูกข้าวเหนียวนาปรังจำนวน 3,156 ไร่ พื้นที่ปลูกข้าวทั้งหมด 64,175 ไร่

พื้นที่ปลูกลำไยจำนวน 42,524 ไร่

พื้นที่ปลูกกระเทียม 121 ไร่ พื้นที่ปลูกหอมแดง 80 ไร่

อัตรากำลัง * นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 14 คน * เกษตรอำเภอ 1 คน * นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 14 คน * เจ้าพนักงานการเกษตร 1 คน * เจ้าพนักงานเคหกิจเกษตร 1 คน * เจ้าหน้าที่ธุรการ 1 คน * พนักงานธุรการ 1 คน * นักการภารโรง 1 คน รวม 20 คน

อำเภอเมืองลำพูนมี 15 ตำบล คือ อำเภอเมืองลำพูนมี 15 ตำบล คือ 1.เหมืองง่า 2.ริมปิง 3.หนองช้างคืน 4.ต้นธง 5.ประตูป่า 6.ในเมือง 7.เวียงยอง 8.เหมืองจี้ 9.ศรีบัวบาน 10.ป่าสัก 11.มะเขือแจ้ 12.บ้านกลาง 13.หนองหนาม 14.อุโมงค์ 15.บ้านแป้น

แหล่งน้ำธรรมชาติที่สำคัญ ลำน้ำที่สำคัญ ได้แก่ 1. ลำน้ำแม่กวง ผ่าน ตำบลอุโมงค์ เหมืองง่า เวียงยอง ต้นธง บ้านแป้น หนองหนาม 2. ลำน้ำปิง ผ่าน ตำบลอุโมงค์ หนองช้างคืน ประตูป่า ริมปิง เหมืองง่า ต้นธง มีพื้นที่รับน้ำ 33,900 ไร่

อ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ของชลประทาน 1.อ่างเก็บน้ำแม่สาร ในตำบลศรีบัวบาน ความจุของน้ำ 16,000 ล้านลูกบาศก์เมตร 2. อ่างเก็บน้ำแม่ตีบ ในตำบลมะเขือแจ้มีพื้นที่รับน้ำ 3,000 ไร่

ฝายเก็บน้ำที่สำคัญของอำเภอ 1. ฝายวังทอง อยู่ในตำบลเหมืองง่า มีพื้นที่รับน้ำ 5,700 ไร่ 2. ฝายมหาโชค อยู่ในตำบลเหมืองจี้ มีพื้นที่รับน้ำ 8,300 ไร่

อาสาสมัครเกษตร/เกษตรหมู่บ้าน ตำบล อาสาสมัครเกษตร(ราย) เกษตรหมู่บ้าน (ราย) ริมปิง 118 10 ประตูป่า 101 9 หนองช้างคืน 65 6 บ้านแป้น

อาสาสมัครเกษตร/เกษตรหมู่บ้าน ตำบล อาสาสมัครเกษตร(ราย) เกษตรหมู่บ้าน (ราย) บ้านกลาง 89 12 เหมืองง่า 168 10 หนองหนาม 48 8 เวียงยอง 94

อาสาสมัครเกษตร/เกษตรหมู่บ้าน ตำบล อาสาสมัครเกษตร(ราย) เกษตรหมู่บ้าน (ราย) ศรีบัวบาน 142 12 ต้นธง 104 11 อุโมงค์ 103 รวม 1,481 176

อาสาสมัครเกษตร/เกษตรหมู่บ้าน อบรมถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่เกษตรหมู่บ้าน 2 ครั้ง แผนการถ่ายทอด * อบรมเรื่องบทบาทหน้าที่ของเกษตรหมู่บ้าน เดือน มีนาคม 2552 1 ครั้ง * อบรมเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง เดือน เมษายน 2552 1 ครั้ง