งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาลุ่มน้ำปิงตอนล่างแบบบูรณาการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาลุ่มน้ำปิงตอนล่างแบบบูรณาการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาลุ่มน้ำปิงตอนล่างแบบบูรณาการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ณ โรงแรมลำปางเวียงทอง จ.ลำปาง (3 ก.พ. 47)

2 พื้นที่การบริหารจัดการน้ำลุ่มน้ำปิง
เขื่อนภูมิพล พื้นที่การบริหารจัดการน้ำลุ่มน้ำปิง

3 ลุ่มน้ำปิง ครอบคลุมพื้นที่รับน้ำฝน 34,856 ตารางกิโลเมตร
ลุ่มน้ำปิงตอนล่าง มีพื้นที่รับน้ำฝน 9,511 ตารางกิโลเมตร หรือ 27 % ของพื้นที่ลุ่มน้ำปิงทั้งหมด ประกอบด้วย ลุ่มน้ำสาขา 6 ลุ่มน้ำ

4 กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ไม่รวมปริมาณน้ำจากเขื่อนภูมิพล)
สัดส่วนปริมาณน้ำผิวดินในลุ่มน้ำปิงตอนล่าง ปริมาณน้ำจากลุ่มน้ำวัง (1, ล้าน ลบ.ม./ปี) ลุ่มน้ำสาขาที่มีปริมาณน้ำมาก ได้แก่ แม่น้ำวัง, แม่น้ำปิงตอนล่าง มีปริมาณน้ำรวม % ของปริมาณน้ำในลุ่มน้ำปิง (ปริมาณน้ำในลุ่มน้ำปิง ทั้งหมด 10,552.8 ล้าน ลบ.ม./ปี 3, ล้าน ลบ.ม./ปี (ไม่รวมปริมาณน้ำจากเขื่อนภูมิพล)

5 กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
พื้นที่ชลประทานปัจจุบันในลุ่มน้ำปิงตอนล่าง ลุ่มน้ำ พื้นที่เกษตรกรรม (ไร่) พื้นที่ชลประทาน พื้นที่ปลูกพืชแต่ละชนิด (ไร่) การใช้พื้นที่ ในฤดูแล้ง ร้อยละ ข้าว พืชไร่ พืชผัก ไม้ผล ไม้ยืนต้น อื่น ๆ ปิงตอนล่าง 2,785,242 1,083,799 516,776 342,449 53,520 171,054 20.60 ปิงตอนล่าง

6 กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปริมาณการใช้น้ำในลุ่มน้ำ
ลุ่มน้ำปิงตอนล่าง เก็บกักได้ ล้าน ลบ.ม. ไหลลงแม่น้ำน่าน 3,712.26 ล้าน ลบ.ม./ปี INFLOW 3, ล้าน ลบ.ม./ปี ปริมาณการใช้น้ำในลุ่มน้ำ 2, ล้าน ลบ.ม./ปี ความจุเก็บกักเขื่อนภูมิพล 13,462 ล้าน ลบ.ม.

7 สภาพปัญหาในลุ่มน้ำปิงตอนล่าง
อ.แม่แจ่ม 1. ความยากจน : มูลค่ารวมผลิตภัณฑ์เฉลี่ยต่อหัว 38,317-46,527 บาท/คน/ปี (ต่ำกว่ามูลค่ารวมผลิตภัณฑ์เฉลี่ยต่อหัวของประชากรของประเทศ ปี 2543 : 78,591 บาท/คน/ปี) 2. อุทกภัย ในลุ่มน้ำสาขา และบริเวณจุดบรรจบแม่น้ำวัง และแม่น้ำน่าน 3. ความเสียหายทางสังคมสืบเนื่องจากความยากจน เช่น การย้ายถิ่นฐาน ยาเสพติด อาชญากรรม ฯลฯ

8 ลุ่มน้ำวิกฤต

9 กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แผนงานโครงการพัฒนาแหล่งน้ำและการระบายน้ำลุ่มน้ำปิงตอนล่าง ปี ที่ รายละเอียด จำนวน ราคา ความจุ พื้นที่ ชลประทาน รับประโยชน์ ป้องกันอุทกภัย แห่ง ล้านบาท ล้าน ลบ.ม. ไร่ 1. ก่อสร้างอ่าง/ฝาย เปิดพื้นที่ชลประทานใหม่ 59 2,219.69 350.00 232,800.00 - 2. ปรับปรุงอ่าง/ ฝาย พัฒนาพื้นที่รับประโยชน์เดิม 45 352.27 - 16,400.00 3. ปรับปรุงและพัฒนาแหล่งน้ำชุมชนแก้มลิง 2 20.00 - 1,400.00 4. สระเก็บน้ำชุมชน (บ่อละ 200,000 ลบ.ม.) - 5. สูบน้ำด้วยไฟฟ้า 7 70.00 - 9,500.00 6. โครงการผันน้ำ - 7. อื่นๆ - 2,661.96 258,700.00 รวม 113 350.00 1,400.00 -

10 กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ปิงตอนล่าง

11 ผลที่คาดว่าจะได้รับ เพิ่มพื้นที่ชลประทานประมาณ 258,700 ไร่ รายได้เฉลี่ยต่อปีของประชากรในลุ่มน้ำยมเพิ่มขึ้นเฉลี่ยเป็น 6,000 บาท/ไร่/ปี รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 1,552.2 ล้านบาทต่อปี เป็นการช่วยขจัดปัญหาความยากจนตามนโยบายของรัฐบาล ลดความเสียหายเนื่องจากอุทกภัยมูลค่าไม่ต่ำกว่า 300 ล้านบาทต่อปี 3. ลดผลกระทบทางด้านสังคมเนื่องจากปัญหาความยากจน เช่น การย้ายถิ่นฐานของประชากร ครอบครัวแตกแยก ปัญหายาเสพติด อาชญากรรม ฯลฯ ซึ่งไม่อาจสามารถประเมินเป็นมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ได้

12 จบการนำเสนอ


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาลุ่มน้ำปิงตอนล่างแบบบูรณาการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google