เรื่อง ระบบบัญชีเกี่ยวกับเงินเดือนและค่าแรง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน้าที่ความรับผิดชอบ
Advertisements

1. ขั้นตอนการขออนุมัติหลักการ/ โครงการ
การนำส่งภาษีผ่านระบบอินเทอร์เน็ต
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
บทที่ 7 ระบบบัญชีเกี่ยวกับการขายและลูกหนี้
บทที่ 8 ระบบบัญชีเกี่ยวกับเงินสด
บทที่ 3 เอกสารทางการบัญชี
บทที่ 11 ระบบบัญชีต้นทุนการผลิตสินค้า
การตรวจสอบการนำส่งเงินรายได้
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย คณะกรรมการการเงินของมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2546
งานพนักงานราชการและลูกจ้าง
การยืมเงินรองจ่าย งานคลังและพัสดุ คณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สรุปใบงาน วิชา ระบบสารสนเทศทางการบัญชี บช. 342
การรับและนำส่งเงินรายรับค่ารักษาพยาบาล
วิเคราะห์จากข้อมูลหรือรายงานทางการเงิน
แนวทางการเตรียมตัวและเตรียมความพร้อมก่อน - หลังเกษียณอายุ
การเบิกจ่ายเงินช่วยพิเศษ
เป็นการย้ายข้าราชการไปแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในระดับที่ต่ำกว่าเดิม
งานที่เกี่ยวข้องกับระบบ GFMIS
การจ้างลูกจ้างชั่วคราว
ขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติในการจ่ายเงินให้กับ ผู้มีสิทธิรับเงินตามโครงการช่วยเหลือค่าครองชีพประชาชนและบุคลากรภาครัฐ.
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
ลงรายการบัญชีทุกวันเป็นประจำทุกเดือน
การปฏิบัติเกี่ยวกับบัญชีเกณฑ์คงค้าง
Job analysis Job description Job specification.
บทที่ 7 การบัญชีเกี่ยวกับการจัดซื้อ และการควบคุมสินค้าคงเหลือ
การร่วมค้า (Joint Venture)
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
นางสาววรนุช ชัยกิตติภรณ์ หัวหน้าสนง.ตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรี
ระบบบัญชี.
การตรวจสอบด้านการเงิน
การตรวจสอบ การตรวจสอบ คือ กระบวนการที่เป็นระบบ
ขั้นตอนการดําเนินงานของกองคลังที่เกี่ยวข้องกับ หน่วยงานอื่น
รายงานการติดตามการจัดการ R3 23 พฤษภาคม น.
วงจรรายจ่าย วงจรที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่อไปนี้
การบัญชี 2 เงินสด (ต่อ).
เงินนอกงบประมาณ โดย นางชูใจ บุญสุยา.
การบริหารงานการเงินของสถานศึกษา
หลักฐานการจ่ายค่าใช้จ่ายต่างๆ
ระเบียบสำนักงานประกันสังคมว่าด้วย การเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 39 แห่งพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 26 ตุลาคม.
โครงสร้างการบริหารงานสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน
แผนผังทางเดินเอกสาร - ระบบบัญชีเกี่ยวกับการจัดซื้อ
สมุดบันทึกรายการขั้นต้น
บทที่ 9 ระบบบัญชีเกี่ยวกับเงินเดือนและค่าแรง
หน่วยที่ 5 ระบบใบสำคัญ ลักษณะของใบสำคัญจ่าย วิธีการของระบบใบสำคัญ
DFD Level 0 เป็นขั้นตอนการสร้าง DFD โดยการแตกแยกย่อย Process ออกมาเป็น Process ย่อย ๆ และแสดงแฟ้มข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งหมด Aj.Wichan Hongbin.
หน่วยที่ 13 การจัดทำรายงาน.
บทที่ 6 การปิดบัญชี การปิดบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป
ฝ่ายบริหารทั่วไป หน้าที่ความรับผิดชอบ รับผิดชอบการปฏิบัติงานบริหารทั่วไป ได้แก่ งานธุรการ งานสารบรรณ งานการเงิน บัญชี และพัสดุ งานยานพาหนะ งานจัดทำและบริหารงบประมาณ.
ตัวอย่าง ระบบคลังหนังสือ (Book Stock System)

ระบบประมวลผลเวลาทำงาน
ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
แนวทางการยกเลิกการจัดทำ บัญชีตามเกณฑ์คงค้างด้วยมือ
บทที่ 5 การบันทึกบัญชีแยกประเภท
งานกิจการนิสิต
การตรวจสอบและปรับปรุงรายการบัญชี
การบันทึกบัญชีและการจัดทำรายงานการเงิน
การบริหารงานบุคคล นายสัจจา วงศาโรจน์ ผู้อำนวยการกลุ่มการเจ้าหน้าที่ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย.
หน่วยงาน หมายถึง สำนัก/กอง/ส่วน/ฝ่าย ตามโครงสร้างของ อปท
System Analysis Episode 01
สรุปประเด็นข้อตรวจพบ
Payroll.
การจัดทำหนังสือ รับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย ปี 2557
หน่วยที่ 3 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
สำนักงานตรวจสอบภายใน วันที่ 21 มกราคม 2558
ให้รวมถึงบุคคลดังต่อไปนี้ด้วย
หลักเกณฑ์การรับ-จ่าย-การจัดทำบัญชี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง ระบบบัญชีเกี่ยวกับเงินเดือนและค่าแรง

อาจารย์ บุญผ่อง สายเพชร เสนอ อาจารย์ บุญผ่อง สายเพชร

โดย นางสาว กรรณิการ์ คุ้มรักษ์ เลขที่ 3 ห้อง 23 นางสาว กรรณิการ์ คุ้มรักษ์ เลขที่ 3 ห้อง 23 นางสาว ญาณิศา คำผม เลขที่ 12 ห้อง 23 นางสาว รัตนา ทองบาง เลขที่ 21 ห้อง 27

บรรณานุกรม http://accountingsystem.freetzi.com/pagenine.php กรอนงค์ จงอรุณงามแสง.(2551).ระบบบัญชี .ศูนย์หนังสือกรุงเทพฯ

ระบบบัญชีเกี่ยวกับเงินเดือนและค่าแรง

ความหมายของเงินเดือนและค่าแรง เงินเดือนและค่าแรง หมายถึง เงินที่จ่ายให้แก่ลูกจ้างหรือพนักงานของกิจการโดยทั่วไป

การวิเคราะห์และทำบัญชีเกี่ยวกับค่าแรง มีดังนี้ การจัดเก็บเวลาการทำงานและการคำนวณค่าแรง การจำแนกค่าแรง การจ่ายค่าแรง การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับค่าแรง

วัตถุประสงค์ของระบบบัญชีเกี่ยวกับเงินเดือนและค่าแรง เพื่อควบคุมในการจ่ายเงินเดือนเป็นไปตามระเบียบปฏิบัติของกิจการ เพื่อให้หักภาษี ณ ที่จ่าย ถูกต้องตามกฎหมาย เพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนเงินได้ทั้งหมดของพนักงานแต่ละคน และรายการที่ต้องหักจากเงินเดือนและค่าแรง

การคำนวณค่าแรง การคำนวณค่าแรงขั้นต้น การคำนวณค่าแรงสุทธิ ค่าแรงขั้นต้น เท่ากับ ค่าแรงปกติ บวก ค่าแรงล่วงเวลา การคำนวณค่าแรงสุทธิ ค่าแรงสุทธิ เท่ากับ ค่าแรงขั้นต้น หัก ภาษีหัก ณ ที่จ่าย หัก เงินประกันสังคม หัก เงินสมทบอื่น ๆ (ถ้ามี)

เอกสารที่ใช้ในการจัดเก็บเวลาการทำงาน 1. บัตรลงเวลา 2. ใบสรุปเวลาการทำงาน

ข้อควรปฏิบัติเกี่ยวกับบัญชีเงินเดือนและค่าแรง ควบคุมให้พนักงานลงเวลา ลงเวลาในสมุดลงเวลาของแผนก มีมาตรการลงโทษสำหรับผู้มาทำงานสาย ในการทำงานล่วงเวลา หัวหน้าแผนกจะอนุมัติในใบอนุมัติล่วงเวลา บันทึกรายการเงินได้และรายการหักค่าใช้จ่ายต่างๆ ในสมุดเงินเดือนและค่าแรง

การบันทึกบัญชีเงินเดือนและค่าแรง เดบิต เงินเดือนและค่าแรง xx เครดิต ใบสำคัญจ่าย xx

การบันทึกการจ่ายเงินเดือนและค่าแรง เดบิต ใบสำคัญจ่าย xx เครดิต บัญชีเงินฝากธนาคาร xx

การวางระบบบัญชีเกี่ยวกับเงินเดือนและค่าแรง พนักงานเงินเดือนประจำ รายได้ เท่ากับ เงินเดือนคงที่ หัก วันที่มาทำงานสาย, การขาดงาน พนักงานค่าจ้างรายวัน ได้ผลตอบแทนเฉพาะวันที่มาทำงาน

แบบฟอร์มที่นำมาใช้กับเงินเดือนและค่าแรง 1. แบบฟอร์มค่าแรง 2. บัตรจดบันทึกเวลาทำงาน

หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับเงินเดือนและค่าแรง แผนกบุคคล แผนกบัญชี แผนกการเงิน แผนกผลิต

ขั้นตอนทางเดินเอกสารระบบบัญชีเงินเดือนและค่าเเรง ขั้นตอนการจัดทำเงินเดือน 1. ฝ่ายบุคคลรวบรวมข้อมูลใบบันทึกการลงเวลาเพื่อจัดทำลงในระบบบัญชีเงินเดือน 2. ฝ่ายบุคลพิมพ์รายงานบันทึกประจำวันเพื่อใช้ในการตรวจสอบใบบันทึกเวลา ขั้นตอนการบันทึกทะเบียนประวัติพนักงาน 1. เจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลรวบรวมข้อมูล ประวัติพนักงาน 2.เจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลนำส่งประวัติ พนักงานที่ผ่านการทดลองงานให้ ฝ่าย/แผนกต้นสังกัดอนุมัติเข้าทำงาน 3. เจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลนำส่งและจัดเก็บ ข้อมูลพนักงาน

การทำงานล่วงเวลา 1. ฝ่าย/แผนกต้องรวบรวมใบขอทำงานล่วงเวลา 2. เจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลต้องพิมพ์รายงานการทำงานล่วงเวลากับใบบันทึก เวลาทุกครั้ง

ขั้นตอนการขาด สาย ลา ป่วย อื่นๆ 1. ฝ่าย/แผนกต้องรวบรวมใบลาที่ได้รับ การอนุมัติส่งเจ้าหน้าฝ่ายบุคคลบันทึก ข้อมูลการลา 2. เจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลพิมพ์รายงานการ ลาประจำวันเทียบกับใบเวลาที่แต่ละ ฝ่ายส่งมา 3. ทุกสิ้นเดือนเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลจะพิมพ์รายงานประจำเดือน เพื่อเป็นหลักฐาน 4. เจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลพิมพ์รายงานสรุปเงินเดือน รายงานภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา(ภ.ง.ด.1) 5. เจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลนำส่งและจัดเก็บรายงานการจ่ายเงินผ่านธนาคาร 6. เจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลนำเก็บและจัดส่งรายงานการจ่ายเงินเดือนแก่พนักงาน

การควบคุมภายในเกี่ยวกับเงินเดือนและค่าแรง การควบคุมภายในโรงงาน 1. ควรมีการแบ่งหน้าที่การรับผิดชอบ 2. ควรใช้เครื่องบันทึกเวลา 3. ควรตรวจเช็คพนักงานแต่ละคนว่า ทำงานครบหรือไม่ 4. ควรตรวจสอบการคำนวณค่าแรงให้ ถูกต้อง 5. ควรให้พักงานลงนามรับเงินใน แบบฟอร์มที่กำหนดไว้ การควบคุมภายในสำนักงาน การควบคุมภายในสำนักงานจะไม่ ยุ่งยากเหมือนในโรงงาน แต่ยังใช้การ บัตรลงเวลาเหมือนกับโรงงาน เพื่อให้ ทราบถึงการทำงานล่วงเวลาและต้องมี การคำนวณค่าล่วงเวลาด้วย