งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 7 การบัญชีเกี่ยวกับการจัดซื้อ และการควบคุมสินค้าคงเหลือ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 7 การบัญชีเกี่ยวกับการจัดซื้อ และการควบคุมสินค้าคงเหลือ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 7 การบัญชีเกี่ยวกับการจัดซื้อ และการควบคุมสินค้าคงเหลือ
บทที่ การบัญชีเกี่ยวกับการจัดซื้อ และการควบคุมสินค้าคงเหลือ

2 หัวข้อการศึกษา ระบบบัญชีเกี่ยวกับการจัดซื้อ
ลักษณะการจัดซื้อและการอนุมัติการสั่งซื้อ การปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดซื้อ การบันทึกบัญชีรายการซื้อสิ่งของ การควบคุมสินค้าคงเหลือ การปฏิบัติในการควบคุมสินค้าคงเหลือประเภทยา การปฏิบัติในการควบคุมสินค้าคงเหลือประเภทอื่นยกเว้นยา การคำนวณต้นทุนสินค้าและการบันทึกบัญชี

3 ลักษณะการจัดซื้อ และการอนุมัติการสั่งซื้อ

4 ลักษณะการจัดซื้อและการอนุมัติการสั่งซื้อ
ระบบเกี่ยวกับการจัดซื้อของธุรกิจโรงพยาบาล สามารถจัดแบ่งตามลักษณะของการจัดซื้อได้ออกเป็น 2 ลักษณะ ดังนี้  การจัดซื้อพัสดุหรืออุปกรณ์ทั่วไป  การจัดซื้อพัสดุหรืออุปกรณ์ที่มีลักษณะเฉพาะ

5 ลักษณะการจัดซื้อและการอนุมัติการสั่งซื้อ การอนุมัติการสั่งซื้อ
การจัดซื้อตามปกติ - หัวหน้าแผนกจัดซื้อ การอนุมัติการสั่งซื้อ การจัดซื้อพิเศษ - คณะกรรมการ

6 การปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดซื้อ

7 การปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดซื้อ การปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดซื้อ
การปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดซื้อของธุรกิจโรงพยาบาล จะมีขั้นตอนในการปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดซื้อสินค้าและสินทรัพย์ทั้งหมด 3 ขั้นตอนดังนี้  การเสนอซื้อ  การสั่งซื้อ  การรับของ

8 การบันทึกบัญชี รายการซื้อสิ่งของ

9 การบันทึกบัญชีรายการซื้อสิ่งของ
แผนกบัญชีจะบันทึกรายการซื้อสิ่งของ และรายการเจ้าหนี้ โดยตรวจสอบกับหลักฐานเอกสาร ที่เกี่ยวข้องดังนี้ ใบเสนอซื้อ ใบสั่งซื้อ ใบกำกับสินค้าจากผู้ขาย ใบรับของ หากรายการในเอกสารดังกล่าวข้างต้นตรงกัน ทุกรายการ จะนำรายละเอียดในใบกำกับสินค้า มาบันทึกบัญชี

10 การบันทึกบัญชีรายการซื้อสิ่งของ
เดบิต พัสดุ - ยาและเวชภัณฑ์ XX พัสดุ – อาหาร XX พัสดุ – ช่าง XX พัสดุ - ฯลฯ XX สินทรัพย์ XX เครดิต เจ้าหนี้ XX

11 การควบคุมสินค้าคงเหลือ

12 ประเภทของสินค้าคงเหลือ ประเภทของสินค้าคงเหลือ
สินค้าคงเหลือของธุรกิจโรงพยาบาลมีอยู่ด้วยกันหลายประเภท และมีลักษณะที่แตกต่างไปจากสินค้าของธุรกิจการค้าอื่นโดยทั่วไป ซึ่งมีประเภทของสินค้าคงเหลือดังนี้  สินค้าคงเหลือ – ยา  สินค้าคงเหลือ – เวชภัณฑ์  สินค้าคงเหลือ – วัสดุต่าง ๆ

13 การปฏิบัติในการควบคุม สินค้าคงเหลือประเภทยา

14 การปฏิบัติในการควบคุมสินค้าคงเหลือประเภทยา
ประกอบด้วย การนำสินค้าเข้าคลังพัสดุยา การเบิกยาจากคลังพัสดุยา การจ่ายยาให้ผู้ป่วย การรับคืนยา

15 การปฏิบัติในการควบคุม สินค้าคงเหลือประเภทอื่นยกเว้นยา

16 การปฏิบัติในการควบคุมสินค้าคงเหลือประเภทอื่นยกเว้นยา
ประกอบด้วย การนำสินค้าเข้าคลังพัสดุ การเบิกของจากคลังพัสดุ การเบิกไปยังหน่วยงานต่าง ๆ

17 การคำนวณต้นทุนสินค้า และการบันทึกบัญชี

18 การคำนวณต้นทุนยาและเวชภัณฑ์
การคำนวณต้นทุนยาและเวชภัณฑ์ จะใช้รายงานสรุปจากหน่วยงานต่างๆ ดังนี้ รายงานค่ายาและค่าวิชาชีพแพทย์ประจำวัน – ผู้ป่วยนอก รายงานค่ายาและค่าวิชาชีพแพทย์ประจำวัน – ผู้ป่วยใน รายงานการแจ้งเก็บเงินประจำวันค่าผ่าตัดและค่าทำคลอด รายงานการจ่ายเวชภัณฑ์ประจำวัน

19 การคำนวณต้นทุนพัสดุต่าง ๆ
การคำนวณต้นทุนยาและเวชภัณฑ์ จะใช้รายงานสรุปจากหน่วยงานต่างๆ ดังนี้  รายงานค่าใช้จ่ายพัสดุประจำแผนก

20 การคำนวณต้นทุนพัสดุอาหาร
การคำนวณต้นทุนของพัสดุอาหาร จะแบ่ง ออกเป็น 2 กรณี คือ วัตถุดิบประกอบอาหารที่เป็นอาหารสด จะตัดต้นทุนตามยอดซื้อประจำวัน จากใบเสนอซื้ออาหารสดประจำวัน  วัตถุดิบอาหารแห้งที่สามารถเก็บสำรองไว้ การคำนวณต้นทุนจะใช้ตามรายการที่เบิกใช้ไปจากใบเบิกเวชภัณฑ์และพัสดุ การคำนวณ ต้นทุนพัสดุอาหาร


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 7 การบัญชีเกี่ยวกับการจัดซื้อ และการควบคุมสินค้าคงเหลือ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google