โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวปลอดภัย กลุ่มลูกพ่อขุน จ.เชียงราย และ จ.พะเยา
สมาชิกกลุ่มลูกพ่อขุน นายบุญยืน กาชัย ประธาน นายรักขิต ปินตาเขียว นางกมลวรรณ กุมารัตน์ นายอวบ จิตรแก้ว นายประเวศน์ บุญเลา นายสุรพล พิชัยพรหม นางนงนุช โสภาภูมิ นายถวิล สุภาษิต นายไพยนต์ งานมูลเขียว นายประทีป เกียรติพรศักดา นายสิริธัญญ์ ธรรมอินทร์ นายสัญญา เร่งเร็ว นางจงจิตต์ มาเทพ 14. นายการุณย์ มะโนใจ 15. นางสาวศุภัชญา ฟูแสง 16. นายนิเวศน์ ราชยา 17. นางสุกฤตา พวงแก้ว 18. นายสุริยา รัตนะ 19. นายอรรถพร สามหมื่นคำ 20. นางสาวแสงทอง นามปิง นางสาววิลาวัณย์ ไฝนันท์ตา นางวิลาวัลย์ ใจด้วง นางเกษรา อุดมพันธ์ นายจักรเพชร บุญเกษม นางสาวอัญชลี ปัญญากวาว นางหนึ่งฤทัย กองนำ
อ.วีระศักดิ์ จิตตะวิริยะพงษ์ วิทยากรประจำกลุ่ม นายวรวุฒิ วงศ์ไชย ผู้ช่วยวิทยากรประจำกลุ่ม
นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 6ว จังหวัดพะเยา นายการุณย์ มะโนใจ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 6ว จังหวัดพะเยา ผู้นำเสนอ
เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สภาพสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศ เกษตรดีขึ้น ผลสัมฤทธิ์ เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สภาพสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศ เกษตรดีขึ้น ผลิตข้าวที่ได้มาตรฐานปลอดภัย ลูกพ่อขุน
ผลลัพธ์ เกษตรกรมีรายได้ เพิ่มขึ้น1,000 บาท/ไร่ ลูกพ่อขุน
สามารถผลิตข้าวปลอดภัยได้ปีละ 650 ตัน /1,000 ไร่(อำเภอ) ผลผลิต สามารถผลิตข้าวปลอดภัยได้ปีละ 650 ตัน /1,000 ไร่(อำเภอ) ลูกพ่อขุน
กระบวนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ กำหนดขั้นตอนการดำเนินงาน ประชาสัมพันธ์โครงการ (วิทยุ,เวทีชุมชน,ฯลฯ) คัดเลือกพื้นที่และเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ ประชุมชี้แจงเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ วางแผนการผลิต ดำเนินงานตามแผน ติดตามและรายงานผล ลูกพ่อขุน
การมีส่วนร่วมของประชาชน มีส่วนร่วมทุกขั้นตอน รวมกลุ่ม คัดเลือกคณะกรรมการดำเนินงาน กติกากลุ่ม วางแผนการผลิตและดำเนินงานตามแผนการผลิต ลูกพ่อขุน
วิธีการนำไปสู่การปฏิบัติ กำหนดพื้นที่เป้าหมายและเกษตรกรเป้าหมาย (อำเภอละ 1,000 ไร่ ต่อ เกษตร 100 ราย) วางแผนการดำเนินงาน ดำเนินงานตามแผน ติดตามนิเทศงาน ประเมินผลและรายงานผล ลูกพ่อขุน
ปัจจัยที่เอื้อต่อการทำงาน กลยุทธ์หน่วยงาน ตรงกับยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน การเมือง ได้รับการสนับสนุนจาก อบท. (อบต.,เทศบาลตำบล,อบจ.) กลยุทธ์หน่วยงาน ตรงกับยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน การเมือง ได้รับการสนับสนุนจาก อบท. (อบต.,เทศบาลตำบล,อบจ.) ลูกพ่อขุน
สังคมการเกษตร เศรษฐกิจ เทคโนโลยี การทำนาเป็นอาชีพหลักของเกษตรกรในพื้นที่ เศรษฐกิจ เป็นพืชเศรษฐกิจ สามารถสร้างงานและรายได้ มีความต้องการของตลาดสูง เทคโนโลยี มีเครื่องมือทุ่นแรงในครัวเรือน มีบุคลากร และหน่วยงานหลักให้การสนับสนุน มีภูมิปัญญาท้องถิ่น ลูกพ่อขุน
ปัจจัยนำเข้า คน มีแรงงานในท้องถิ่น เกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการ เทคโนโลยี ใช้กระบวนการตามโรงเรียนเกษตรกร ลูกพ่อขุน
วัตถุดิบ เงิน เมล็ดข้าวพันธุ์ดี ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี สารชีวภัณฑ์ป้องกันกำจักศัตรูพืช เงิน ขอสนับสนุนงบประมาณจากองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น ลูกพ่อขุน
สวัสดีครับ!!! กว๊านพะเยาแหล่งชีวิต ศักดิ์สิทธิ์พระเจ้าตนหลวง บวงสรวงพ่อขุนงำเมือง งามลือเลื่องดอยบุษราคัม เหนือสุดในสยาม ชายแดนสามแผ่นดิน ถิ่นวัฒนธรรมล้านนา ล้ำค่าพระธาตุดอยตุง ลูกพ่อขุน