1 การประเมิน คุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน เขตการศึกษา วันที่
คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน …………………………………………. ประธาน …………………………………………. ผู้ทรงคุณวุฒิ …………………………………………. รองประธาน …………………………………………. กรรมการ …………………………………………. เลขานุการ
วัตถุประสงค์การประเมิน คุณภาพภายใน เสริมสร้างความตระหนักต่อการพัฒนา คุณภาพการดำเนินงาน เพื่อให้ทราบถึงประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลการดำเนินงานตาม ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ เพื่อให้ทราบจุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส อุปสรรค เพื่อสนับสนุน การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ยืนยันความมีคุณภาพของการดำเนินงาน ปัจจุบัน เตรียมความพร้อมสำหรับการประเมิน คุณภาพภายนอก
4 กำหนดการประเมิน กำหนดการประเมินคุณภาพภายในเขตการศึกษา วันที่ ประธานกรรมการการประเมินแนะนำคณะกรรมการการประเมิน วัตถุประสงค์ของการ ประเมิน ผู้บริหารบรรยายสรุปผลการดำเนินงาน คณะกรรมการการประเมินซักถาม สัมภาษณ์ ผู้เกี่ยวข้อง ( พร้อมกันทุกหน่วยงาน ) พักกลางวัน แบ่งกลุ่มกรรมการเข้าเยี่ยมชมหน่วยงานย่อยแต่ละหน่วยงาน สรุปผลการประเมิน วันที่ กรรมการเยี่ยมชมหน่วยงานย่อย ( ต่อ ) สัมภาษณ์อาจารย์ นักศึกษา บุคลากร ผู้รับบริการ ผู้ใช้บัณฑิต และ ผู้เกี่ยวข้อง ของหน่วยงานย่อยนั้น พักกลางวัน สรุปผลการประเมินและเตรียมการนำเสนอผลการประเมินด้วยวาจา นำเสนอผลการประเมินด้วยวาจา โดยคณะกรรมการนำเสนอเฉพาะ หน่วยงานที่กลุ่มตนเข้าประเมินฯ
เวลาภาควิชา / หน่วยงาน ย่อย กรรมการประเมิน รายละเอียดการตรวจ เยี่ยมหน่วยงานย่อย
การสัมภาษณ์ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ประกอบด้วย 5 กลุ่ม ดังนี้ 1. ผู้บริหาร 2. อาจารย์ 3. บุคลากรสาย สนับสนุน 4. นักศึกษา 5. ศิษย์เก่า 6. ผู้ใช้บัณฑิต
การสัมภาษณ์ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ประเภทรายละเอียดกรรมการ 1. ผู้บริหารจำนวน 3 คน ประกอบด้วย - คณบดี - หัวหน้าภาควิชา 1 ภาควิชา - เลขานุการคณะ 2. อาจารย์จำนวน 2 คน ประกอบด้วย - อาจารย์ที่เป็นกรรมการคณะ - อาจารย์ทั่วไป
การสัมภาษณ์ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ประเภทรายละเอียดกรรมการ 3. บุคลากรสาย สนับสนุน จำนวน 2 คน ประกอบด้วย - บุคลากรงานธุรการ - บุคลากรงานวิชาการ 4. นักศึกษา จำนวน 6 คน ประกอบด้วย - นักศึกษาปริญญาตรี จำนวน 4 คน ( มุสลิม 1 คน ) - นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา จำนวน 2 คน - ภาคปกติ 1 คน - ภาคสมทบ 1 คน
การสัมภาษณ์ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ประเภทรายละเอียดกรรมการ 5. ศิษย์เก่าจำนวน 4 คน ประกอบด้วย - ปริญญาตรีจำนวน 2 คน - บัณฑิตศึกษา จำนวน 2 คน 6. ผู้ใช้บัณฑิตจำนวน 2 คน ประกอบด้วย - ภาครัฐ จำนวน 1 คน - ภาคเอกชน จำนวน 1 คน