ความรู้ทั่วไป เกี่ยวกับบทภาพยนตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สตอรี่บอร์ด (Story board)
Advertisements

พิชิตโครงงานวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
Work Shop: Set Actor & Story
Graphic Design for Video
“ เทคนิคการนำเสนอโครงงาน ” (ด้วยวาจา)
วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
ประโยชน์ของ เครื่องโปรเจคเตอร์
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
BA2301 หลักการตลาด การค้าปลีกและการค้าส่ง
รูปแบบการจัดองค์ประกอบ
บทที่ 4 การแปรรูป และการผลิตสินค้าอาหาร
Tuesdays with Morrie & หลายชีวิต
ตัวอย่างการเขียน ในบทที่ 5.
เปิดโลกนอกกะลา.
แผนการเรียนรู้ เรื่อง การจัดองค์ประกอบของการถ่ายภาพ
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
หลักการพัฒนา หลักสูตร
บทที่ 1 อัตราส่วน.
การอ่านจับใจความเรื่องสั้น
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
Poster Presentation โดย สำหรับ การประชุม สคร.5 รศ.นพ.สมพนธ์ ทัศนิยม
บทที่ 1 บทนำว่าด้วยการสื่อสารการตลาด
โปรแกรม MS Powerpoint และเทคนิคการนำเสนอ
รูปแบบ Story Board อย่างง่าย
Proposal / Profile : ทำเพื่อเสนอต่อสถานีโทรทัศน์ ขอช่องทางออกอากาศ
ทีมงานผลิตรายการโทรทัศน์ The Television Team
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
ความสำคัญของภาพ กับการผลิตรายการโทรทัศน์
ภาษาทางสื่อ มิวสิควิดีโอ
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
โรงเรียนชุมชนบ้านบือแนปีแน สพป.ปัตตานี เขต 2
เครื่องมือช่วยในการจับประเด็น รวบรวมความคิดให้เป็นหมวดหมู่
โดย... อาจารย์อ้อ สุธาสินี
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ความรู้ทั่วไป เกี่ยวกับภาพยนตร์
Integrated Marketing Communication
วิจารณ์ อะไร. Story. ผู้วิจารณ์ คือใคร. Commentator
การผลิตภาพยนตร์ การฝึกอบรมหลักสูตรภาคปฏิบัติ ปี 2552
การผลิตภาพยนตร์ การฝึกอบรมหลักสูตรภาคปฏิบัติ ปี 2552
แสง สี ไฟ ในภาพยนตร์ Light Color Gaffer
ความรู้ทั่วไป เกี่ยวกับบทภาพยนตร์
การออกแบบสื่อการเรียนรู้
CLIP V I D I O จุดประสงค์การเรียนรู้ และสื่อการ สอน
โดย พลตรี เอนก แสงสุก ผู้ทรงคุณวุฒิกองบัญชาการกองทัพไทย
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทของ ภาพยนตร์. ภาพยนตร์ที่เราไปชมกันนั้นมี หลากหลายรส หลายแบบ บางคนชอบ แบบชีวิต ( ดราม่า ) ชมภาพยนตร์ไปร้องไห้ เช็ดน้ำตาไป บางคนชอบหนังการ์ตูนสดใส.
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
รองศาสตราจารย์ ดร.เอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์
โรงเรียนหนองจอกกงลิบฮัวเคียว
ศิลปะการพูดในที่ชุมชน
เทคนิคการนำเสนอ วันจันทร์ที่ 23 พฤษภาคม 2554
Background / Story Board / Character
การเขียนบทโทรทัศน์ สุรพล บุญลือ.
การถ่ายวีดีโอ.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
การฟังเพลง.
ปัจจัยสำคัญของภาพยนตร์
องค์ประกอบของวรรณคดี
บทที่8 การเขียน Storyboard.
การสร้างสรรค์บทละคร.
องค์ประกอบของบทละคร.
คาถาสำหรับนักพูด.
การเขียนบทวิทยุกระจายเสียง. ขั้นตอนการเขียนบทรายการวิทยุ ขั้นเริ่มต้นแนวคิด (Begin with idea) จะเป็น การบอกแนวทาง ขอบเขตและการวาง แผนการผลิตในอนาคต.
Lighting Designer นักออกแบบแสง.
บทที่ 3 กระบวนการวิจัยตลาดและการกำหนดปัญหาการวิจัย
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
การเขียนบทโฆษณา และการผลิตภาพยนตร์โฆษณา
องค์ปะกอบของนวยิยาย โดย วณิชยา ธุระอบ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรู้ทั่วไป เกี่ยวกับบทภาพยนตร์ ความรู้ทั่วไป เกี่ยวกับบทภาพยนตร์

องค์ประกอบที่มีผลต่อการบริโภคภาพยนตร์ Story Production Audience & Marketing

องค์ประกอบที่มีผลต่อการบริโภคภาพยนตร์ continue - schedule storyboard shooting team production screenplay Director, art plot structure camera Producer, AE synopsis movie Staff, best boy outline editor genre Advertising theme player dvd Culture - behavior home tv Channel Feedback target group satellites cable theatre ticket sale dealer online trailer rating

วิเคราะห์กลยุทธ์การตลาดภาพยนตร์ จริงหรือไม่? การผลิต ขึ้นอยู่กับความต้องการของผู้บริโภค ไม่ได้ขึ้นอยู่กับผู้ผลิต การกำหนดราคา ขึ้นอยู่กับความต้องการของตลาด ไม่ได้ขึ้นอยู่กับทุน การจัดจำหน่าย ให้ความสำคัญใน ความสะดวกของผู้บริโภคในการรับสาร มากกว่าการคิดถึงการเช่าเวลา ค้าร่วม สนับสนุน ขายโฆษณา หรือ ประมูล การส่งเสริมตลาด การสร้างความน่าเชื่อถือให้องค์กร และ แบรนด์ มากกว่า การสร้างความต้องการ ให้แก่ผู้บริโภคเฉพาะกาล 4

1. ศาสตร์และศิลป์ในภาพยนตร์ (องค์ประกอบของภาพยนตร์) 2. การสื่อความหมายในภาพยนตร์ 3. บทภาพยนตร์

ศาสตร์และศิลป์แห่งภาพยนตร์ ภาพยนตร์ คือ การถ่ายทอด ภาพ และ เสียง ซึ่ง ถูกจัดสร้าง ถูกจัดวางตำแหน่ง สัดส่วน ระยะ ขึ้นภายในกรอบสี่เหลี่ยม สู่ผู้ชม ให้ได้รับ ความรู้ ความบันเทิง และการโน้มน้าวใจ องค์ประกอบของภาพยนตร์ *** -พื้นที่ (space & time) -ภาพ (picture) -เสียง (sound) -การเคลื่อนไหว (movement) -ลีลา (pace)

-ความยาวของเรื่อง 3-10, 10-30, 45-60, 90-120 นาที, 180 นาที องค์ประกอบของภาพยนตร์ 1.พื้นที่ (space & time) -ความยาวของเรื่อง 3-10, 10-30, 45-60, 90-120 นาที, 180 นาที -ระยะเวลา เหตุการณ์ ในเรื่อง 10 นาที, 2 ชม., 10 ปี, 1 ศตวรรษ, ... -ฉาก ตอน สถานที่ ช่วงเวลา จำนวน.. สร้างขึ้น-ของจริง, นอก-ใน, กลางวัน-กลางคืน -การตัดต่อ ลำดับภาพ จำนวนฟิล์ม ขนาดไฟล์ดิจิตัล ขนาดเฟรม (pixel)

2.ภาพ (picture) *mise-en-scene* -ฉาก เหตุการณ์ องค์ประกอบของภาพยนตร์ 2.ภาพ (picture) *mise-en-scene* -ฉาก เหตุการณ์ -อุปกรณ์ประกอบฉาก อุปกรณ์ (prop-set) ของจริง หรือ สร้างขึ้น ควัน ไฟ หมอก ระเบิด ซาก ยาน นักแสดง (extra) มีบทพูด ไม่มีบทพูด -ตัวละคร (actor) ความปรารถนา (need) vs. ความขัดแย้ง (conflict) -นักแสดง (character) เสื้อผ้า-หน้า-ผม (wardrobe, costume)

2.ภาพ (picture) *mise-en-scene* (ต่อ) องค์ประกอบของภาพยนตร์ 2.ภาพ (picture) *mise-en-scene* (ต่อ) -แสง (light) *Natural *Low key *High key เหลือง-เขียว หรือ ฟ้า-ขาว ผ่อนคลาย ธรรมชาติ รื่นเริง สนุก ส้ม-เขียว ความหวัง กำลังใจ ตื่นเต้น ระทึก น้ำเงิน-เทา หรือ น้ำตาล-เทา เศร้า รันทด อ้อนวอน ร้องขอ สงสาร

เสียงพูด (dialogue) บรรยาย (voice over / off scene) องค์ประกอบของภาพยนตร์ 3.เสียง (sound) เสียงพูด (dialogue) บรรยาย (voice over / off scene) เสียงประกอบ (sfx) ฝนตก ไฟไหม้ สัตว์ร้อง ชน กระแทก แตก สัญญาณ เสียงดนตรี (music) ผ่อนคลาย–สงบ สดใส–ร่าเริง รัก–โรแมนติก ปลุกเร้า–กำลังใจ รุกรน–เร่งรีบ ท้อแท้–อ่อนล้า ระทึก–สยองขวัญ ตื่นเต้น–ตกใจ 4.การเคลื่อนไหว (movement)

4.การเคลื่อนไหว (movement) องค์ประกอบของภาพยนตร์ 4.การเคลื่อนไหว (movement) -วัตถุ/ตัวละคร ในเรื่อง (subject) -ฉากหลัง (background) -กล้อง (camera movement) ดูหัวข้อถัดไป -การตัดต่อ ลำดับภาพ 5.จังหวะ ลีลา (pace) –timing / tempo / beat ซึ่งมีผลต่อ ... –ตลก เศร้า ปลุกใจ

การสื่อความหมายในภาพยนตร์ –ขนาดภาพ (video size) Long-medium-close up –มุมกล้อง (camera angle / view angle) –การเคลื่อนกล้อง-เลนส์ (camera-lens) *H *V –เสียง (sound) *voice *music *sfx *song –แสง (light) *daylight *nightlight *before-after sunshine –สี (color) tone

บทภาพยนตร์ โครงสร้างทางกายภาพของภาพยนตร์ -ช็อท (shot) -ซีน (scene) หรือ ฉาก (set) -เหตุการณ์ หรือ ตอน (sequence) องค์ประกอบหลัก 5 ประการ ในบทภาพยนตร์

บทภาพยนตร์ องค์ประกอบหลัก 5 ประการ ในบทภาพยนตร์ -เรื่องราว (story outline) -โครงสร้างของเรื่อง (plot structure หรือ plot) -ฉาก และ เหตุการณ์ (scene and sequence) -ตัวละคร (character) -ความปรารถนาของตัวละคร (need) -ความขัดแย้ง (conflict) -บทสนทนา (dialogue)

ตัวอย่างเรื่องราว (story outline) และ โครงสร้างของเรื่อง (plot structure หรือ plot) อ.สู่ดิน www.igoodmedia.net/production เรื่อง อัศจรรย์ ฝันหรือหลอก (Me) เรื่อง เมืองคนเขี้ยว (เขี้ยวสยอง สองเขี้ยวขย้ำ) Holder เรื่อง ปฐมบทแห่งสงครามเทพอสูร (Myth of The First Be Against) เรื่อง ฝ่าอุปสรรค ตามหารักนิรันดร์ (Hopeful with Hearted)* เรื่อง พลังรัก พลังชีวิต (alive) เรื่อง อนุสรณ์ก่อนตะวันลับฟ้า (A Memorial Bridge) เรื่อง ไอดี 2112 เรื่อง แค้น คลั่ง หลอน

act–3 resolution คลี่คลาย งานสำเร็จ + คุณภาพ + ใช้ทุนน้อย = สำคัญที่บท (script) โครงสร้างการเขียน What’s happen ? Model of The Premise act–1 setup เปิดตัว act–2 setup เผชิญหน้า act–3 resolution คลี่คลาย Hero พระเอก Action บทบาท Conflict ขัดแย้ง Climax จุดยอด Resolution คลี่คลาย Need ปรารถนา 30 page 60 page 30 page 1: 2: 1:

act–3 resolution คลี่คลาย งานสำเร็จ + คุณภาพ + ใช้ทุนน้อย = สำคัญที่บท (script) โครงสร้างการเขียน What’s happen ? Model of The Premise act–1 setup เปิดตัว act–2 setup เผชิญหน้า act–3 resolution คลี่คลาย Hero พระเอก Action บทบาท Conflict ขัดแย้ง Climax จุดยอด Resolution คลี่คลาย Need ปรารถนา จุดหักเห 1 จุดหักเห 2 30 page 60 page 30 page 1: 2: 1:

แบบฝึกหัด จากประเด็นเรื่องต่อไปนี้ (เหตุเกิดเมื่อประมาณ ปี พ.ศ.2510) จากประเด็นเรื่องต่อไปนี้ (เหตุเกิดเมื่อประมาณ ปี พ.ศ.2510) “เด็กชายวัย 8 ขวบ แทนที่จะได้เรียนหนังสือ กลับต้องรับภาระเลี้ยงดูพ่อพิการ แม่ตาบอด โดยเร่ขายไอศกรีมหลอด พอประทังชีวิตไปวันวัน เขาไม่เคยได้ลองรสอร่อยของไอศกรีมในถังเลย เมื่อนึกถึงกำไรที่จะได้เป็นค่าอาหารเลี้ยงดูพ่อแม่ แต่เมื่อความอยากมารุมเร้า เขาจะทำอย่างไร” ให้นักศึกษา วางโครงเรื่อง (story outline) องค์ 1 – 2 – 3 เพื่อตอบคำถามว่า “ใคร ต้องการอะไร แอ็คชั่น อุปสรรค จุดหักเห ความขัดแย้ง จุดไคล์แมก ผลสรุป” ไม่เกิน 1 หน้า A4 16pt. 18

การเขียนบทโดยยึดโครงสร้าง act 1–2–3 (Operate–Interrupt–Decision) –บท 5 นาที act-1 1 ½ หน้า, act-2 2 ½ หน้า, act-3 1 หน้า –บท 10 นาที act-1 2 ½ หน้า, act-2 5 หน้า, act-3 2 ½ หน้า –บท 25 นาที act-1 6 หน้า, act-2 13 หน้า, act-3 6 หน้า –บท 120 นาที act-1 30 หน้า, act-2 60 หน้า, act-3 30 หน้า การเขียนโครงเรื่องขยาย (treatment) 4 หน้า A4 1. องค์ประกอบ 4 : ending – beginning – plot point I – plot point II 2. ลำดับการเขียน : (บรรยาย)

การเขียนโครงเรื่องขยาย (treatment) 4 หน้า A4 2. ลำดับการเขียน : (บรรยาย) –เปิด scene sequence ½ หน้า –action act-1 –> plot point I ½ หน้า –plot point I –> จบ act1 ½ หน้า –action act-2 (confrontation) 1 หน้า (ลำดับการเผชิญหน้าระหว่าง พระเอก–ผู้ร้าย) –plot point II –> จบ act2 ½ หน้า (climax) –act-3 คลี่คลาย (resolution) ½ – 1 หน้า

องค์ประกอบการเขียนบทภาพยนตร์ (Script model) act–1: beginning เปิดเรื่อง เปิดตัวละคร = need’s actor (set up) p. 1 – 30 (บท 10 sc. = p. 1–2½ ) plot point I p. 25 – 27 (บท 10 sc. = p. 2 ½) act–2: middle ขัดแย้ง เผชิญหน้า พระเอก–ผู้ร้าย = climax (confrontation) p. 30 – 90 (บท 10 sc. = p. 2½ – 8) plot point II p. 85 – 90 (บท 10 sc. = p. 7½ – 8) act–3: ending คลี่คลายปัญหา หลัง climax = decision (resolution) p. 90 – 120 (บท 10 sc. = p. 9 – 10)

องค์ประกอบการเขียนบทภาพยนตร์ (Script model) จำนวนหน้าของบทภาพยนตร์ สั้น ยาว ยืดหยุ่นตามเหมาะสม –บทบรรยายฉาก (scene) –บทสนทนา (dialogue) –บทกำกับการแสดง (stage direction)

งานสำเร็จ + คุณภาพ + ใช้ทุนน้อย = สำคัญที่บท (script) แนวทางการเขียนบท – ทุกฉาก ต้องมีวัตถุประสงค์ ชัดเจน ดู the premise เป็นหลัก – บอกเวลา สถานที่ของฉาก (ภายนอก ภายใน กลางวัน กลางคืน) – ไม่ต้องเขียนมุมกล้อง (เป็นหน้าที่ของ director ใน shooting script) ให้บอกเล่าแทนสายตาของ กล้อง – เปิดฉากให้มีพลัง ฉากสั้น ฉากยาว ตามเหมาะสม ขึ้นอยู่กับอารมณ์ แต่อย่าเกินเวลาที่กำหนดของแต่ละ องค์ (1:2:1) – การเผยเนื้อหาสาระ ควรดึงเรื่อง ค่อยๆ เปิด ควรปูทางบาง ช็อต ไว้ ถ้าต้องการ จะโยงไปสู่เรื่องในฉากต่อไป วางความหมายซ่อนเร้นไว้

งานสำเร็จ + คุณภาพ + ใช้ทุนน้อย = สำคัญที่บท (script) แนวทางการเขียนบท – อย่าฉาย scene ซ้ำ – เขียนเป็นภาพ action (เขียนแทนสายตาของกล้อง) – บทสนทนา (dialogue) ไม่จำเป็นทุกฉาก ใช้บท action แทนก็ได้ – จังหวะของฉาก ดนตรี (rhythm) ลีลา (beat) เร็ว-ช้าของการตัดต่อ (tempo) – การเชื่อมฉาก ต่อฉาก ด้วย transition, action, space, sound – การบรรยายฉากหลัง (อาจทำให้บทยาวขึ้น) – การเร้าอารมณ์ (เปลี่ยนอารมณ์) ใน scene หรือ dramatic tension – การพลิกผัน (reversal)

งานสำเร็จ + คุณภาพ + ใช้ทุนน้อย = สำคัญที่บท (script) แนวทางการเขียนบท – Montages คือ นำเอาลำดับของเหตุการณ์แต่ละคัต มารวมกัน ให้เป็นเหตุการณ์หนึ่งเดียว ทำให้เรื่องราวสั้น กระชับ รู้เรื่อง = ผูก time & space ของเหตุการณ์ ที่ต่างวาระกัน ให้มาอยู่ใน scene เดียวกัน – การย้อนอดีต (flashback) – การเขียนกำกับการแสดง (stage directions) และ กำกับเสียงบรรยาย (voice–over narration)