งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความสำคัญของภาพ กับการผลิตรายการโทรทัศน์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความสำคัญของภาพ กับการผลิตรายการโทรทัศน์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความสำคัญของภาพ กับการผลิตรายการโทรทัศน์
ความสำคัญของภาพ กับการผลิตรายการโทรทัศน์

2 หน่วยการนับภาพ Frame : ภาพนิ่งหนึ่งภาพ Shot
: ภาพนิ่งหนึ่งภาพ Shot : เกิดจากหลายๆ Frame มาต่อกันเป็นภาพเคลื่อนไหว : ภาพที่เริ่มตั้งแต่กดปุ่ม start จนกระทั่ง stop

3 Scene : “ฉาก” : หลาย shot เชื่อมต่อกัน ให้มีความต่อเนื่อง (continue) เป็น เรื่องราวในสถานที่แห่งหนึ่ง Sequence : “ตอน” : หลาย Scene มาประกอบกัน เป็นการดำเนินเรื่องที่ชัดเจน

4 ขนาดภาพ Picture size / Shot size
: ขนาดภาพที่ต่างกัน จะสื่อความหมายต่างกัน 1. Extreme Long Shot (ELS) Establishing Shot : ขนาดภาพกว้างมาก : ภาพเปิดฉาก ( Open Scene) : บอกภาพรวมในฉากทั้งหมด

5 Long Shot (LS.) : ภาพกว้าง : ภาพบุคคลขนาดเต็มตัว Full shot : ภาพสถานที่เห็นอาคารทั้งหลัง

6 Medium Long Shot (MLS.) : ภาพบุคคลตั้งแต่ศีรษะถึงหัวเข่า Knee shot : เห็นตัวผู้แสดงเคลื่อนไหวสัมพันธ์กับฉากหลัง

7 4. Medium Shot (MS.) : ภาพขนาดครึ่งตัว Mid shot / Waist shot : หากจับภาพ 2 คน เรียก Two shot 3 คน ,, Three shot หลายคน ,, Group shot : นิยมใช้เชื่อมเพื่อรักษาความต่อเนื่อง ของภาพ LS กับ ภาพ CU

8 5. Medium Close UP (MCU.) : ภาพบุคคลตั้งแต่ระดับอกขึ้นไป Bust shot : สื่อความใกล้ชิดเป็นกันเองมากขึ้น : ใช้ในรายการสนทนา ที่เห็นเฉพาะคนใดคนหนึ่งเท่านั้น

9 6. Close Up (CU.) : ภาพขนาดใหญ่ : ภาพบุคคลตั้งแต่ระดับไหล่ขึ้นไป : ส่วนใหญ่ใช้ในงานละคร ภาพเน้นความรู้สึก

10 7. Big Close Up (BCU.) : จับภาพเฉพาะส่วนใบหน้า ส่วนที่แสดงอารมณ์ 8. Extreme Close Up (ECU.) : เน้นเฉพาะจุดที่สำคัญเท่านั้น : อวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่ง

11 การเคลื่อนกล้อง และการปรับเลนส์ (Camera Movement)
Pan : การหันกล้องไปทางซ้ายและขวา (แนวนอน) : Pan left / Pan right Tilt : การก้มและเงยกล้อง (แนวดิ่ง) : Tilt up / Tilt down

12 Dolly : เคลื่อนกล้องบนราง เข้าหา / ถอยออกจากวัตถุ : Dolly in / Dolly out Track / Truck / Crab : เคลื่อนกล้องบนราง วัตถุที่มีล้อ ตามวัตถุไปด้านข้าง

13 Elevate / Depress : Elevate = การยกกล้องขึ้น : Depress = การลดกล้องลง : Pedestal อุปกรณ์ในการยกกล้องขึ้นลง Ped up / Ped down : ใช้แทนสายตาคนลุกขึ้น หรือนั่งลง

14 : การเคลื่อนกล้องเป็นมุมโค้งรอบวัตถุ
Crane : ตั้งกล้องบนเครน : Crane up / Crane down 7. Arc : การเคลื่อนกล้องเป็นมุมโค้งรอบวัตถุ

15 8. Zoom : การปรับภาพให้วัตถุใหญ่ หรือเล็กลง โดยใช้เลนส์ : Zoom in = ขยายวัตถุ Zoom out = ย่อวัตถุ

16 9. Di Focus : การปรับเลนส์ โดยปรับภาพที่คมชัดอยู่ให้พร่ามัว (Blur) แล้วกลับมาคมชัดเหมือนเดิม 10. Shift Focus : การปรับเลนส์ ให้คมชัดเฉพาะจุดที่ต้องการเน้น และให้พร่ามัวในอีกจุดหนึ่ง แล้วปรับสลับกันไปมา

17 ระดับมุมมองของกล้อง มุมภาพระดับสายตา (Eye Level Shot)
: มุมที่ใช้มองในชีวิตประจำวัน : มุมปกติ (normal camera angle) : มักใช้กล้องสูงระดับอก (a chest high camera angle) : การสนทนากันอย่างปกติ เท่าเทียมกัน

18 ภาพมุมต่ำ (Low Angle Shot)
: กล้องต่ำกว่าผู้แสดง แล้วเงยกล้องขึ้นประมาณ 70 องศา : สื่อถึงความยิ่งใหญ่ มีอำนาจ แข็งแรง : แทนสายตาผู้ที่มีฐานะต่ำกว่า

19 มุมสายตาหนอน (Worm’s eye view)
: มุมต่ำ กล้องเงยตั้งฉาก 90 องศากับสิ่งที่จะถ่าย : ใช้กับวัตถุที่ตกลงมาจากที่สูงสู่พื้น เคลื่อนบังเฟรม : เป็นมุมที่มีลักษณะเด่น

20 ภาพมุมสูง (High Angle Shot)
: ตั้งกล้องสูงกว่าผู้แสดง ถ่ายกดลงมาประมาณ 45 องศา : ความรู้สึกต่ำต้อย น่าสงสาร : แทนสายตาของคนที่มองจากที่สูงลงมา

21 5. มุมสายตานก (Bird’s eye view)
: มุมตั้งฉาก 90 องศาแนวดิ่งกับสิ่งที่จะถ่าย : ถ่ายมาจากเฮลิคอปเตอร์ helicopter shot airplane shot aerial shot : ใช้แทนสายตาคนที่อยู่บนที่สูง สร้างความหวาดเสียว

22 6. มุมเอียง (Oblique angle shot)
: มุมที่แสดงถึงความไม่สมดุล : ใช้ในฉากชุลมุนโกลาหล แผ่นดินไหว : แทนสายตาตัวละคร คนเมา หกล้ม สับสน : Dutch angle / Tilted shot / Canted shot

23 7. มุมผ่านไหล่ (Over Shoulder Shot / OS)
: ตั้งกล้องถ่ายเฉียงผ่านไหล่ของคู่สนทนา

24 - พื้นที่ว่างด้านหน้าบุคคลที่หันด้านข้างให้กล้อง
: “Nose room” - พื้นที่ว่างด้านหน้าบุคคลที่หันด้านข้างให้กล้อง - ควรเหลือพื้นที่ด้านหน้าบุคคลไว้ เพื่อสื่อว่า “มีอะไรอยู่ด้านหน้าคนนั้น”

25 องค์ประกอบภาพ (picture composition)
ข้อพึงระวัง : คำนึงถึง background / foreground : “Head room” - พื้นที่เหนือศีรษะ จนถึงจอภาพด้านบน - อย่าให้ชิดหรือห่างเกินไป

26 - พื้นที่ว่างด้านหน้าบุคคลขณะกำลังเดินไปจอภาพอีกด้าน
: “Walking room” - พื้นที่ว่างด้านหน้าบุคคลขณะกำลังเดินไปจอภาพอีกด้าน - เว้นพื้นที่ด้านหน้าให้มากกว่าด้านหลัง

27 มุมมอง มุมคนดู / มุมของผู้ชม (Objective Angle)
: มุมมองที่ผู้ชมเป็นผู้สังเกตการณ์ : ใช้มากในละคร / ภาพยนตร์ มุมแทนความรู้สึกผู้ชม (Subjective Angle) : มุมมองที่ให้ผู้ชมรู้สึกมีส่วนร่วมในเหตุการณ์ : ถ่ายแบบ hand held

28 มุมมองผสมระหว่างมุมของผู้ชม และมุมแทนความรู้สึกผู้ชม
: มุม Point of View : ผู้ดำเนินรายการคุยกับผู้ชมและคุยกับวิทยากรสลับไปมา

29 การถ่ายโดยใช้กล้องตัวเดียว
กำหนดจุดวางตำแหน่งกล้อง (กล้อง – 3) เริ่มถ่ายตำแหน่งกล้อง 2 : ถ่ายภาพมุมกว้างไว้ทั้งหมด ให้ทั้ง 2 สนทนากัน จดประเด็นคำถาม & คำตอบไว้

30 ย้ายมาตำแหน่งกล้อง 3 : ถ่ายเฉพาะคนซ้าย พูดซ้ำเฉพาะคำถาม / คำตอบที่จดไว้ : ถ่ายขณะไม่ได้พูด แต่กำลังรับฟัง พยักหน้า/ยิ้ม ย้ายมาตำแหน่งกล้อง 1 : ถ่ายเฉพาะคนขวา วิธีเดียวกับกล้อง 3 ตัดต่อลำดับภาพ

31 เส้นแกน 180 องศา / เส้นสมมุติ (Action Line)
: ใช้กับการถ่ายกล้องหลายตัว : กำหนดเส้นสมมุติขึ้น อย่าตั้งกล้องเลยเส้นนั้น เพราะจะทำให้ภาพกลับทิศทาง


ดาวน์โหลด ppt ความสำคัญของภาพ กับการผลิตรายการโทรทัศน์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google